Page 27 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 27
ทฤษฎีภาพยนตรพ์ ้นื ฐาน 2-17
ต่อเน่ืองของพ้ืนที่และเวลาออกเป็นเส่ียงๆ แล้วน�ำมาปะติดปะต่อกันใหม่ให้มีความหมายมากขึ้นกว่าเดิม
ผกู้ ำ� กับภาพยนตร์กเ็ หมือนกบั ศลิ ปินประเภทอ่ืนๆ ท่เี ลอื กสรรแตเ่ ฉพาะส่วนที่ตนประทบั ใจเทา่ นน้ั ออกมา
จากสง่ิ ทม่ี อี ยใู่ นธรรมชาตทิ งั้ หมด การนำ� พน้ื ทแี่ ละเวลาทต่ี ดั ทอนออกเปน็ สว่ นๆ มาจดั เรยี งประกอบกนั ขนึ้
ใหมไ่ ดส้ รา้ งความตอ่ เนอ่ื งขน้ึ อกี แบบหนงึ่ อยา่ งทไ่ี มม่ อี ยใู่ นธรรมชาตจิ รงิ ๆ ซง่ึ วธิ นี ก้ี ค็ อื พนื้ ฐานของทฤษฎี
ตัดต่อภาพยนตรข์ องนกั ทฤษฎโี ซเวียต (the soviet montage theorists) น่ันเอง
อาร์นไฮม์ช้ีให้เห็นอีกว่ามีกลไกในการรับรู้ทางภาพยนตร์อีกหลายแบบที่ไม่เหมือนกับกลไกการ
รับรู้ของคนเรา เราไม่อาจปรับสายตาของเราให้รับภาพได้อย่างที่กล้องสามารถท�ำให้เป็นภาพช้า (slow
motion) ภาพเรว็ (fast motion) ภาพยอ้ นกลับ (reverse motion) และภาพหยดุ น่งิ (freeze frames)
นอกจากนส้ี ายตาของเราก็ยังไม่อาจสร้างภาพจางซ้อน (dissolves) ภาพเห็นหลายส่วนพรอ้ มกนั (mul-
tiple exposure) ภาพเนกาตีฟ (negative images) ภาพบดิ เบอื นจากเลนสแ์ ละแว่นกรองแสง (distor-
ting lense and filters) แม้แตป่ รบั ใหภ้ าพคมชัด (focus manipulations) หรอื สร้างเทคนิคพเิ ศษต่างๆ
(special effects) ที่เกิดจากการพิมพ์ฟลิ ์ม (optical printer) ได้
โดยสรปุ แลว้ อารน์ ไฮมแ์ ละนกั ทฤษฎภี าพยนตรใ์ นแนวรปู แบบนยิ มคนอน่ื ๆ เชน่ เซอร์ไก ไอเซน
สไตน์ (Sergei Eisenstein) และเวสโวลอด พูดอฟกิน (Vsevolod Pudovkin) มีความคิดว่าศิลปะของ
ภาพยนตร์เกิดข้ึนจากข้อจ�ำกัดและลักษณะพิเศษของส่ือภาพยนตร์เอง การถ่ายภาพยนตร์ได้ก่อให้เกิด
การบิดเบือนสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ ดังน้ันในการท่ีจะเลียนแบบธรรมชาติก็ไม่เพียงท่ีผู้ก�ำกับจะบันทึกแต่
รูปแบบทางกายภาพเท่าน้ัน แต่จะต้องตีความผ่านกล้องภาพยนตร์ ซึ่งในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบน้ี
ไม่ได้เป็นการท�ำลายความเป็นจริงทางกายภาพ แต่เป็นการกลั่นกรอง ปรับเปลี่ยนและคัดสรรเอามาแต่
เฉพาะลักษณะทสี่ ำ� คญั เท่านน้ั มาใช้ (Giannetti, 1976, pp. 433-437)
กิจกรรม 2.2.1
1. นกั ทฤษฎีภาพยนตร์แนวรปู แบบนยิ มมใี ครบ้าง
2. ผสู้ รา้ งภาพยนตร์ตามแนวทฤษฎีรปู แบบนิยมควรมบี ทบาทอยา่ งไร
3. ศิลปะภาพยนตรต์ ามความหมายของทฤษฎรี ูปแบบนยิ มเกดิ ขึน้ เพราะอะไร
แนวตอบกิจกรรม 2.2.1
1. รดู อล์ฟ อาร์นไฮม์ เซอร์ไก ไอเซนสไตน์ และเวสโวลอดพดู อฟกิน
2. มีบทบาทเป็นผู้แปลและถ่ายทอดความจริงผ่านกระบวนการทางเทคนิคภาพยนตร์ ไม่ใชล่ อก
แบบจากธรรมชาติ
3. เพราะมีความแตกต่างระหว่างความเป็นจริงในธรรมชาติกับความเป็นจริงในภาพยนตร์ รวม
ทง้ั กลไกในการรับรทู้ างจติ กไ็ ม่เหมอื นกบั กลไกการรบั รู้ของกล้องภาพยนตร์