Page 32 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 32

2-22 ทฤษฎแี ละการวิจารณ์ภาพยนตร์

เร่ืองที่ 2.3.1
ความเคล่ือนไหวของทฤษฎีภาพยนตร์แนวรูปแบบนิยม

       นกั ทฤษฎภี าพยนตรร์ นุ่ แรกๆ ไดพ้ ยายามเปรยี บเทยี บภาพยนตรก์ บั งานศลิ ปะอน่ื ๆ เชน่ วรรณคดี
ละคร ภาพถา่ ย และภาพเขยี นเพอ่ื ต้องการให้ภาพยนตร์แตกต่างไปจากศิลปะอืน่ ทไ่ี ด้พฒั นามาและแสดง
ใหเ้ หน็ วา่ ภาพยนตรก์ เ็ ปน็ งานศลิ ปะเชน่ เดยี วกบั ศลิ ปะอนื่ นกั ทฤษฎภี าพยนตรก์ ลมุ่ นจี้ งึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั
รปู แบบ (form) และการแสดงออก (expression) มใิ ชก่ ารบนั ทึกเหตุการณจ์ ริงทวั่ ไป

       แนวคดิ ของทฤษฎภี าพยนตรแ์ นวรปู แบบนยิ มปรากฎเดน่ ชดั หลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 1 โดยเฉพาะ
ในภาพยนตร์แบบเอ็กซ์เพรสชันนิสม์ของผู้สร้างภาพยนตร์ในเยอรมนี (German Expressionism)
ภาพยนตรอ์ าวองทก์ ารด์ ของฝรงั่ เศส (The French Avant-Garde) และภาพยนตรแ์ นวรปู แบบนยิ มของ
โซเวียต (Soviet Formalism หรือ Russian Formalism)

ภาพยนตร์เยอรมันเอ็กซ์เพรสชันนิสม์

       ในระยะกอ่ นสงครามโลกครงั้ ที่ 1 อตุ สาหกรรมภาพยนตรข์ องประเทศเยอรมนคี อ่ นขา้ งเลก็ ทำ� ให้
ภาพยนตรต์ ่างประเทศจากฝรัง่ เศส อเมริกา อิตาลี และเดนมารก์ เขา้ มาฉายตตี ลาดเป็นส่วนใหญ่ รฐั บาล
เยอรมนั จงึ เรมิ่ ใหก้ ารสนบั สนนุ วงการภาพยนตรเ์ พอ่ื แขง่ ขนั กบั ภาพยนตรต์ า่ งประเทศเหลา่ นบ้ี า้ ง จนกระทงั่
เกิดการก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ข้ึนมากมายและผลิตภาพยนตร์เพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว ทางรัฐบาลได้
จัดการรวมบริษัทผลิตภาพยนตร์เล็กๆ หลายบริษัทนี้เข้าเป็นหน่วยงานเดียวกันเรียกว่า อูฟา (UFA)
(Universumfilm Aktiengesellschaft) ในปี 1917 UFA ได้รับงบประมาณมหาศาลจนสามารถจา้ งชา่ ง
เทคนิคเก่งๆ และสร้างโรงถ่ายพร้อมอุปกรณ์ทันสมัยท่ีสุดในยุโรปขณะนั้น ซึ่งช่วยแพร่กระจายสไตล์การ
สร้างภาพยนตรข์ องเยอรมันใหอ้ อกไปมีอทิ ธพิ ลต่อต่างประเทศดว้ ย

       ภาพยนตร์เยอรมันท่ีสร้างกันในระยะนั้นล้วนแต่เป็นภาพยนตร์แนวบันเทิง มีท้ังภาพยนตร์ตลก
รกั ประโลมโลก เรือ่ งทางเพศ เร่อื งเก่ยี วกบั การสืบสวนสอบสวน และเร่อื งราวสมยั ประวตั ศิ าสตร์ ซ่งึ ค่อน
ข้างแตกตา่ งจากมาตรฐานของภาพยนตรใ์ นตลาดโลก

       อยา่ งไรกต็ ามบรษิ ทั ผลติ ภาพยนตรเ์ ลก็ ๆ ทเ่ี ปน็ อสิ ระกย็ งั มอี ยบู่ า้ ง รวมถงึ บริษัท Decla ของอีริค
พอมเมอร์ (Erich Pommer) ท่ีได้สร้างภาพยนตร์ซึ่งไม่เหมือนใครจากการเขียนบทของชายสองคนที่
ไม่มีใครรู้จักคือ คาร์ล เมเยอร์ (Carl Mayer) และฮันซ์ จาโนวิตซ์ (Hans Janowitz) ซึ่งต้องการให้
ภาพยนตรอ์ อกมาในแบบทผ่ี ดิ แผกไปจากทเ่ี คยมกี ารสรา้ งกนั มา นน่ั คอื สรา้ งภาพยนตรใ์ นสไตลข์ องศลิ ปะ
เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ (Expressionism) ที่ก่อตัวข้ึนต้ังแต่ปี 1910 ในงานจติ รกรรมแลว้ ขยายเขา้ สงู่ านละคร
วรรณกรรม และสถาปตั ยกรรมอยา่ งรวดเรว็ จงึ อยากจะลองทำ� ในงานภาพยนตรด์ บู า้ งซง่ึ อาจจะเปน็ จดุ ขาย
ในตลาดต่างประเทศก็ได้ ดังนั้น ทางบริษัทจึงเช้ือเชิญศิลปินเอ็กซ์เพรสชันนิสม์มาออกแบบวาดฉากให้
อนั ได้แก่ เฮอร์มานน์ วอร์ม (Hermann Warm) วอลเตอร์ ไรมาน (Walter Reimann) และวอลเตอร์
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37