Page 29 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 29

ทฤษฎีภาพยนตร์พืน้ ฐาน 2-19
       คราเคาเออรเ์ น้นด้วยว่าภาพยนตร์มคี วามสามารถพิเศษในการบนั ทึกท้ังสง่ิ ทเี่ คล่อื นไหวและสิง่ ท่ี
ไม่มีชีวิตซึ่งพบเห็นอยู่ในธรรมชาติ และท้ังยังมีพลังเรียกคืนส่ิงที่เราไม่ทันสังเกตเห็นอันเนื่องเพราะความ
ใหญม่ าก เลก็ มาก ธรรมดาสามญั หรอื สญู หายไปรวดเรว็ ฯลฯ เชน่ ทวิ ทศั นก์ วา้ งไกลสดุ ลกู หลู กู ตา ใบไม้
ไหว หยดหยาดนำ�้ ฝน ระลอกคล่ืนในสระน้�ำ เป็นตน้ ให้กลบั คนื มาใหเ้ ราไดเ้ ห็น กล้องภาพยนตรส์ ามารถ
บันทึกส่ิงท่ีเราไม่มีโอกาสเห็นให้ได้เห็นเหมือนอย่างท่ีมันเกิดข้ึนจริงในธรรมชาติ ซึ่งการค้นพบใหม่หรือ
การน�ำกลับมาให้เห็นใหม่นี้จะบังเกิดผลดีก็ต่อเมื่อผู้สร้างภาพยนตร์ใช้กล้องบันทึกเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นเอง
โดยไม่ได้ตระเตรยี มข้นึ จับภาพชวี ิตจรงิ ทด่ี �ำเนนิ อยอู่ ยา่ งไมร่ ตู้ วั โดยไมเ่ ปน็ การแสดง คราเคาเออร์ยืนยัน
ว่าการใช้สื่อภาพยนตร์ให้ดีท่ีสุดก็คือการใช้เสนอเร่ืองที่ได้พบ (found stories) ซึ่งเกิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาติ
       ความคิดของคราเคาเออร์ขัดแย้งกับความคิดของนักทฤษฎีภาพยนตร์ในแนวรูปแบบนิยมโดย
สิ้นเชิง เพราะคราเคาเออร์เห็นว่าภาพยนตร์ไม่ใช่งานศิลปะหรือหากจะเป็นก็แตกต่างไปจากงานศิลปะ
อ่ืน ๆ เน่ืองจากภาพยนตร์มีพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีท้ังด้านฟิสิกส์ เคมี เคร่ืองจักรกล เลนส์ส�ำหรับมอง
ฯลฯ และภาพยนตร์เก่ยี วขอ้ งกบั ความเป็นจริงหรอื ความเป็นจรงิ ทางกายภาพมากกว่าศลิ ปะอืน่ ใด เช่นใน
งานจิตรกรรม จิตรกรมีเพียงพู่กัน ผ้าใบและสีก็สามารถสร้างงานศิลปะข้ึนได้แล้ว หรือนักประพันธ์
นักเขียนบทละคร และกวี ก็ใช้แค่กระดาษกับเครื่องเขียนเท่านั้น ส่วนผู้สร้างภาพยนตร์ต้องการมากกว่า
กล้อง ม้วนฟิล์มและโต๊ะตัดต่อในการผลิตงานภาพยนตร์ เพราะพวกเขาต้องถ่ายภาพ “อะไรบางอย่าง”
(something) ในความเปน็ จรงิ ทางกายภาพออกมาใหต้ รงกบั ความจรงิ ทสี่ ดุ มใิ ชใ่ ชจ้ นิ ตนาการ (Stromgren
& Norden, 1984, pp. 250-251)
       คราเคาเออร์ไม่ชอบภาพยนตรท์ บี่ ดิ เบือนไปจากความเปน็ จริงในธรรมชาติ เขาเหน็ ว่าภาพยนตร์
ประเภทประวัติศาสตร์ (historical film) และประเภทแฟนตาซี (fantasy) นั้นละทิ้งคุณสมบัติพ้ืนฐาน
ของสื่อภาพยนตร์ไปอย่างน่าเสียดาย เขายอมรับภาพยนตร์เร่ืองแรกๆ ของไอเซนสไตน์ (Eisenstein)
ผู้ก�ำกับชาวรัสเซียท่ีสร้างแบบกึ่งสารคดี (semi-documentary film) ซ่ึงไม่ใช้นักแสดงอาชีพ ถ่ายจาก
สถานที่จริงและใช้แสงธรรมชาติ แต่กลับต�ำหนิภาพยนตร์เรื่องหลังๆ ของผู้ก�ำกับผู้นี้ที่เน้นการตัดต่อซึ่ง
บดิ เบอื นเวลาและพนื้ ทใ่ี นความจรงิ ภาพและเหตกุ ารณไ์ มม่ ลี กั ษณะของภาพยนตรค์ อื ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ โดย
บงั เอิญ แตถ่ ูกจัดแจงประกอบขึน้ และเป็นเหมอื นละคร
       คราเคาเออร์ยังไม่ชอบภาพยนตร์ท่ีดัดแปลงเร่ืองราวมาจากงานประพันธ์และบทละครอีกด้วย
เพราะเขาเช่ือว่าวรรณกรรมค่อนข้างข้องเก่ียวกับความรู้สึกนึกคิดภายในใจ (internal realities) และ
ไม่ค�ำนึงถึงความเป็นจริงภายนอกนัก เขาคดิ วา่ ถา้ จะดดั แปลงบทละครของเชค็ สเปยี ร์ (Shakespere) มา
เปน็ ภาพยนตรก์ จ็ ะเปน็ เพยี งการบนั ทกึ ละครลงบนแผน่ ฟลิ ม์ เทา่ นน้ั ซงึ่ ไมใ่ ชภ่ าพยนตรท์ แี่ ทจ้ รงิ เพราะตอ้ ง
ใหค้ วามส�ำคญั กบั ภาษาพดู และตกแตง่ สร้างฉาก หากจะถ่ายท�ำกนั ในฉากธรรมชาติ เช่น ในปราสาทจริง
ป่าจรงิ สนามรบจริง ทงั้ ภาษาพูดและเคร่ืองแต่งกายก็ย่อมจะขดั แย้งกับสถานท่จี ริงนนั้ การดดั แปลงเรอ่ื ง
จากนวนิยายอาจท�ำไดเ้ ม่ือเรอื่ งราวน้นั ดเู ปน็ จริงและไม่ถกู แตง่ เติม
       เรอ่ื งของความรสู้ กึ นกึ คดิ ไมม่ ลี กั ษณะของภาพยนตรใ์ นความคดิ ของคราเคาเออร์ กลอ้ งควรบนั ทกึ
วา่ อะไรเปน็ อะไร (what is) หากบนั ทกึ เนอ้ื หาทหี่ า่ งไกลจากความเปน็ จรงิ เราจะสงสยั วา่ เปน็ เรอื่ งแตง่ ขนึ้
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34