Page 24 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 24

2-14 ทฤษฎแี ละการวจิ ารณภ์ าพยนตร์

                                    ความน�ำ

       ทฤษฎภี าพยนตรแ์ นวรปู แบบนยิ ม (Formalist Film Theory) (หรอื บางตำ� ราเรยี กวา่ Expres-
sionist Film Theory) และทฤษฎีภาพยนตร์แนวสัจนิยม (Realist Film Theory) นับเป็นทฤษฎี
พนื้ ฐานในการกำ� หนดลกั ษณะของภาพยนตรต์ า่ งๆ ซง่ึ แมว้ า่ จะมภี าพยนตรห์ ลากหลายลกั ษณะเกดิ ขนึ้ ตอ่ ๆ
มา ภาพยนตร์เหล่านั้นก็มีเค้าก�ำเนิดมาจากทฤษฎีพ้ืนฐานสองทฤษฎีน้ี ทฤษฎีทั้งสองยังเป็นต้นแบบให้
เกดิ ทฤษฎภี าพยนตรอ์ ่นื ๆ ตามมาอกี ดว้ ย

       โดยหลักแล้วทฤษฎีภาพยนตร์แนวรูปแบบนิยมจะให้ความส�ำคัญแก่รูปทรงหรือรูปแบบ (form)
มากกวา่ เนอื้ หา (content) เนน้ แตว่ า่ จะนำ� เสนอความคดิ และอารมณอ์ อกมาอยา่ งไร (how) นนั่ คอื เนน้ ไป
ในทางเทคนคิ (technique) โดยการสรา้ งสรรคจ์ ดั แจงของผสู้ รา้ งภาพยนตรใ์ หเ้ ปน็ ไปตามการตคี วามและ
ทกั ษะของตน ตรงขา้ มกบั ภาพยนตรใ์ นทฤษฎแี นวสจั นยิ มทใี่ หค้ วามสำ� คญั กบั เนอื้ หา (content) มากกวา่
รปู แบบ (form) เนน้ วา่ จะส่อื สารอะไร (what) ออกมา จะแสดงความจริงออกมาให้เทย่ี งตรงอยา่ งไร จึง
ไมเ่ นน้ เทคนคิ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั และไมใ่ หอ้ ำ� นาจผสู้ รา้ งภาพยนตรเ์ ขา้ มาจดั การปรงุ แตง่ ใดๆ ภาพยนตรต์ าม
ทฤษฎีน้ีมักมีลักษณะคล้ายภาพยนตร์สารคดีซึ่งมุ่งเสนอความจริงตามท่ีเป็นอยู่ (Giannetti, 1976, pp.
414-415) บางคนเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างภาพยนตร์สองแนวนี้ว่าอุปมาเหมือนความแตกต่าง
ของจอภาพยนตรท์ ีค่ ลา้ ยกับเปน็ ผนื ผา้ ใบ (canvas) กบั จอภาพยนตรท์ เ่ี ป็นดังหนา้ ต่าง (window) โดย
ผู้สร้างภาพยนตร์แนวรูปแบบนิยมมองว่าจอภาพยนตร์เหมือนกับผืนผ้าใบที่เขาสามารถสร้างสรรค์โลกลง
ไวภ้ ายในกรอบน้ันตามกฎเกณฑ์ส่วนตวั ของเขาดงั เช่นจิตรกรวาดภาพ ไม่มีอะไรสำ� คญั เลยกรอบภาพนน้ั
ไป ขณะทผ่ี สู้ รา้ งภาพยนตรแ์ นวสจั นยิ มกลบั ทำ� งานราวกบั มองออกไปนอกกรอบหนา้ ตา่ งทใี่ หเ้ หน็ เพยี งแค่
สว่ นเล็กๆ ของโลกกว้างซงึ่ อยู่นอกเหนอื สายตา (Lehman & Luhr, 1999, p. 205) การสรา้ งสรรค์งาน
ภาพยนตร์ของผู้สร้างแนวน้ีจึงชอบท่ีจะส�ำรวจและสังเกตโลกแห่งความจริงมาน�ำเสนออย่างตรงไปตรงมา
โดยมีความเชื่อว่าศิลปะคือการลอกแบบธรรมชาติ (art as representation) ขณะที่ผู้สร้างภาพยนตร์ใน
แนวรูปแบบนยิ มจะเชอื่ วา่ ศิลปะคอื รูปทรง (art as pure form)
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29