Page 20 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 20

2-10 ทฤษฎแี ละการวจิ ารณภ์ าพยนตร์
ผู้ก�ำกับละคร นักเขียนบทภาพยนตร์ บทละคร นวนิยาย กวี นักวิจารณ์วรรณกรรม และอาจารย์สอน
เกี่ยวกับศิลปะภาพยนตร์อีกด้วย

            ภาพที่ 2.1 เบลา่ บาลาซส์ (Bala Balazs) นักทฤษฎภี าพยนตรช์ ้นั น�ำชาวฮงั กาเรียน
       หนังสือทฤษฎีภาพยนตร์เล่มแรกของบาลาซส์ได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1924 ชื่อ Der
sichtbare Mensch, oder Die Kultur des Films (The Visible Man, or Film Culture) วิเคราะห์ถึง
ภาพยนตร์เงียบ พลังอ�ำนาจของมุมกล้องการถ่ายภาพใกล้ การประกอบภาพ และการตัดสลับ ซึ่งได้มี
อิทธิพลต่อพูดอฟกิน (Pudovkin) ผู้สร้างภาพยนตร์ชาวรัสเซียและคนอื่น ๆ เมื่อเกิดมีภาพยนตร์เสียง
บาลาซส์กไ็ ด้เขยี นหนังสอื ช่ือ Des Geist des Films (The Spirit of Film) ในปี ค.ศ. 1930 ขบปัญหาของ
การใช้เสียงในภาพยนตร์ ผลงานเล่มสุดท้ายของเขาพิมพ์ข้ึนที่กรุงมอสโคว์ เมื่อปี ค.ศ. 1945 มีชื่อว่า
Iskusstvo Kino (The Art of the Film) ซึง่ ได้รับการพมิ พ์เผยแพร่เป็นภาษายโู กสลาเวยี น ฮงั กาเรยี น
เยอรมนั และองั กฤษ
       บาลาซสไ์ ดเ้ ขยี นยกยอ่ งทฤษฎภี าพยนตรว์ า่ มคี วามสำ� คญั ควรทที่ กุ คนตอ้ งใสใ่ จศกึ ษาไวใ้ นบทแรก
ของหนังสอื เลม่ สดุ ทา้ ยของเขาน้ี ซึง่ สรุปความไดด้ ังต่อไปนี้
       บาลาซส์ กลา่ ววา่ เราตา่ งกร็ วู้ า่ ศลิ ปะภาพยนตรม์ อี ทิ ธพิ ลตอ่ จติ ใจของสาธารณชนมากกวา่ ศลิ ปะ
แขนงอ่ืน ๆ ดังน้ันเราควรจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับภาพยนตร์เป็นอย่างดี ถ้าเราไม่อยากอยู่ใต้อ�ำนาจของ
ภาพยนตร์ หากว่าเราไม่ศึกษากฎเกณฑ์และขีดความสามารถของภาพยนตร์ เราก็จะไม่อาจควบคุมและ
ช้ีน�ำภาพยนตร์ ซ่ึงมีพลังครอบง�ำมวลชนเช่นนี้ได้ ศิลปะของภาพยนตร์เป็นศิลปะท่ีได้รับความนิยม
มากที่สุด และยังเป็นศิลปะท่ีเปน็ อตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ดว้ ย จติ ใจของผคู้ นโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ประชากร
ในเขตเมือง ก็คือผลผลิตของศิลปะภาพยนตร์น้ี ทฤษฎีของศิลปะภาพยนตร์จึงมีความส�ำคัญท่ีสุดใน
บรรดาศิลปะสมัยใหม่ท้ังหมด แต่กลับไม่มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ของภาพยนตร์เลย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25