Page 16 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 16
8-6 การวิจัยเบอื้ งตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
2. ลักษณะส�ำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพทางสารสนเทศศาสตร์
เป็นที่ยอมรับกันวา่ การวจิ ัยเชิงคณุ ภาพจะมลี ักษณะทีแ่ ตกตา่ งจากการวิจยั เชิงปริมาณ ซึ่งใช้เปน็
วธิ กี ารศกึ ษาปญั หาวจิ ยั ทางสารสนเทศศาสตรใ์ นหลายมติ ิ สามารถสรปุ เปรยี บเทยี บลกั ษณะสำ� คญั ไดต้ าม
ประเดน็ ตอ่ ไปนี้
ตารางที่ 8.1 เปรียบเทียบลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ
รายการ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณ
วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือสร้างความเข้าใจในบริบท ตีความ เ พื่ อ อ ธิ บ า ย เ ห ตุ - ป ั จ จั ย ข อ ง ก า ร เ กิ ด
ความคิด/เหตุการณ์ อธิบายลักษณะของ ปรากฏการณ์ ท�ำนายหรือยนื ยันแนวคดิ /
วธิ กี ารศกึ ษา ปรากฏการณ์ที่ศึกษา สร้างความเข้าใจ ทฤษฎีท่ีมีอยู่เดิม เน้นการตอบค�ำถามว่า
ปญั หาวา่ ทำ� ไมจงึ เกดิ และเกดิ ข้ึนอยา่ งไร มีอะไรเกิดข้ึน มีปัจจัยอะไรมาเกี่ยวข้อง
ข้อมูลที่ใช้ในการ นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งสมมตฐิ านหรอื ทฤษฎใี หม่ เพอื่ คาดการณห์ รอื ควบคุมปัญหา
ศกึ ษา 1. ใช้แบบสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง และ/ 1. ใชแ้ บบสอบถามเปน็ เครอื่ งมอื วจิ ยั หลกั
วิธีการวิเคราะห์
ข้อมลู หรือการสังเกตเป็นเคร่ืองมือวิจัยหลัก ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู รว่ มกบั แบบ
ในการเก็บขอ้ มลู ทดสอบ แบบสัมภาษณม์ โี ครงสรา้ ง
2. เน้นการอธิบายเหตุและผล ซึ่งตัวแปร 2. เนน้ การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบยอ่ ย เพอ่ื
อาจมีความสลับซับซ้อน ชัดเจน ใช้ หาแบบแผนและข้อสรุปของสงิ่ ที่ศึกษา
หลากหลายวิธีการศึกษาให้เหมาะสม ลดทอนข้อมลู ใหเ้ ปน็ ตัวเลขทว่ี ัดได้
กับข้อมูลทีพ่ บในระหวา่ งดำ� เนนิ การ
ใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพที่สามารถอธิบาย ใช้ข้อมูลท้ังท่ีเป็นเชิงปริมาณและเชิง
คณุ ลกั ษณะของปรากฏการณอ์ ยา่ งชดั เจน คุณภาพเพื่ออธิบายตัวแปรที่ศึกษา ซึ่ง
เช่น พฤติกรรม ค่านิยมประสบการณ์ ต้องมีการก�ำหนดนิยามการวัดที่ชัดเจน
มุมมอง ความเชือ่ เปน็ ต้น กอ่ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1. วิเคราะห์ปรากฏการณ์ในภาพรวม 1. วิเคราะห์ข้อมูลโดยการอธิบายตาม
ไมแ่ บง่ ยอ่ ย เนน้ การเขา้ ใจบรบิ ทรอบดา้ น
สะท้อนความคิดที่อ้างอิงกับความรู้สึก แนวคดิ กระบวนการเชงิ สาเหตแุ ละจาก
รว่ มและการตคี วาม ผวู้ จิ ยั มสี ว่ นรว่ มใน หลักฐานขอ้ เท็จจรงิ เชิงประจักษ์ ผ้วู ิจยั
ปญั หาการวิจยั ไม่มีส่วนร่วมหรือเก่ียวข้องกับสถาน-
2. ให้ความส�ำคัญกับการวิเคราะห์เนื้อหา การณท์ ี่เปน็ ปัญหาการวิจยั
เชิงลึกและตีความหมายข้อมูลที่ได้รับ 2. ให้ความส�ำคัญกับการใช้สถิติในการ
ด้วยความละเอยี ดออ่ น วิเคราะห์และน�ำเสนอข้อมูลเป็นตัวเลข
และใช้สถิติเชิงอ้างอิงเพ่ือทดสอบ
สมมตฐิ าน