Page 20 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 20
8-10 การวจิ ัยเบอื้ งตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
ผู้วิจัยต้องมองหากลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลท่ีสามารถน�ำมาขยายความหรือยืนยันข้อค้นพบให้หนักแน่นขึ้น
หรอื ในทางกลบั กนั อาจตอ้ งหากลมุ่ ตวั อยา่ งทมี่ คี วามเหน็ ขดั แยง้ กนั กบั ขอ้ คน้ พบ ซงึ่ จะทำ� ใหข้ อ้ สรปุ มพี น้ื ฐาน
ทางทฤษฎีและเพ่ิมระดบั ความเช่ือมน่ั ของข้อสรุป ดังน้ี
1) การเลอื กตามแนวคดิ “กลมุ่ ตวั อยา่ งทถ่ี กู เลอื กตามทฤษฎ”ี การวจิ ยั ทเี่ นน้ การสรา้ ง
ทฤษฎีเรียกการหาตวั อยา่ งหรือการกำ� หนดผ้ใู หข้ ้อมลู หลกั ว่า “การเลอื กตวั อยา่ งเชงิ ทฤษฎี” ซึง่ มีหลักใน
การเลือกผใู้ หข้ อ้ มลู คอื ต้องมีคุณสมบตั ิตรงตามขอบเขตของงานวจิ ยั ไม่ใชว้ ธิ กี ารสมุ่
2) การเลือกตัวอย่างท่ีสามารถให้ข้อมูลที่ลุ่มลึกและสมบูรณ์พร้อมในรายละเอียด
(rich) ทสี่ ดุ มากกว่าคนอนื่ ท่ีจะไม่ถูกเลือก และที่ส�ำคัญตรงตามความต้องการของผู้วจิ ัย
โดยสรปุ อาจกลา่ วไดว้ า่ ในการออกแบบประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จำ� นวนไมม่ ีความสำ� คญั แต่
ตัวอย่างท่ีใช่ส�ำคัญท่ีสุด ด้วยการใช้วิธีการเลือกท่ีหลากหลายและยืดหยุ่นเพ่ือให้ได้ตัวอย่างท่ีสามารถให้
ข้อมูลทคี่ รบถ้วน สมบรู ณต์ อบวัตถุประสงค์การวิจยั มากที่สุด
2. การออกแบบเคร่ืองมือการวิจัย
เครื่องมือการวิจัยท่ีต้องสร้างในการวิจัยเชิงคุณภาพขึ้นอยู่กับวิธีการเก็บข้อมูลที่ใช้ เม่ือผู้วิจัย
กำ� หนดประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ งไดแ้ ลว้ ตอ้ งพจิ ารณาวา่ จะเกบ็ ขอ้ มลู จากกลมุ่ เปา้ หมายการวจิ ยั เหลา่ นน้ั
ดว้ ยวธิ ีการใด ซึง่ วธิ ีการเกบ็ ขอ้ มลู จะเปน็ ตวั กำ� หนดชนดิ และลักษณะของเคร่ืองมือการวิจัย และการสรา้ ง
เคร่ืองมือการวิจัยไม่ว่าจะเป็นประเภทใด ต้องมีการศึกษาทบทวนวรรณกรรมเพ่ือวิเคราะห์ตัวแปรที่งาน
วิจัยต้องการศึกษา เพราะตัวแปรการวิจัยที่ต้องการศึกษา จะเป็นตัวก�ำหนดประเด็นหรือข้อมูลที่ผู้วิจัย
ต้องการจากกลุ่มตัวอย่าง เคร่ืองมือการวิจัยที่ส�ำคัญที่สุดในการเก็บข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพก็คือ
ตัวผู้วิจัยเอง เพราะการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการใช้คนสัมผัสกับประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย
โดยตรง ซึง่ ตอ้ งใช้รว่ มกบั เครอื่ งมอื ประเภทอืน่ ท่ีมใี ห้เลือกหลากหลาย ดังน้ี
2.1 แบบสัมภาษณ์ เปน็ เครอื่ งมอื การวจิ ยั ทใ่ี ชใ้ นการสมั ภาษณ์ ซงึ่ เปน็ วธิ กี ารทใ่ี ชม้ ากในการเกบ็
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยแนวค�ำถามการสัมภาษณ์ (interview guide) มีทั้งค�ำถามแบบไม่มี
โครงสร้างหรือกึ่งโครงสร้าง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของสถานการณ์ การก�ำหนดประเด็นค�ำถามต้อง
สอดคลอ้ งกบั ปญั หาการวจิ ยั และวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั ทตี่ งั้ ไว้ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งสอบทานเพอื่ มน่ั ใจวา่ ขอ้ คำ� ถามนน้ั
ก่อให้เกิดอารมณ์หรือมีความล่อแหลมต่อจริยธรรมหรือศีลธรรมหรือไม่ ข้อค�ำถามที่จะปรากฏอยู่ในแนว
คำ� ถามเพ่อื การสัมภาษณ์นัน้ อาจจะเป็นประเดน็ ใหญ่ๆ หรือมปี ระเดน็ ยอ่ ยๆ ประกอบประเดน็ ใหญก่ ไ็ ด้
2.2 แบบสังเกต ประกอบดว้ ยเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการสงั เกต และเครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ ขอ้ มลู ท่ี
สังเกตได้ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการสังเกต คือ “คน” ได้แก่ ผู้วิจัยหรือผู้ช่วยวิจัยท่ีอยู่ในทีมวิจัยซ่ึงได้รับ
การฝกึ หดั และซกั ซอ้ มความเขา้ ใจถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั นน้ั ๆ อยา่ งชดั เจน แบบบนั ทกึ การสงั เกตใน
งานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื แบบสงั เกตไมม่ โี ครงสรา้ ง และบนั ทกึ ภาคสนามของนกั วจิ ยั
2.2.1 แบบสังเกตไมม่ ีโครงสร้าง ใชใ้ นงานวจิ ยั ภาคสนาม เพอื่ บนั ทกึ การสงั เกตสถานการณ์
เหตกุ ารณแ์ ละพฤตกิ รรมในสภาวะธรรมชาติ (naturalistic settings) ทไ่ี มไ่ ดก้ ำ� หนดสถานการณ์ เหตกุ ารณ์
หรอื พฤตกิ รรมทจ่ี ะสงั เกตไวอ้ ยา่ งเปน็ แบบแผน ซง่ึ ผวู้ จิ ยั ไมม่ ขี อ้ มลู ทช่ี ดั เจนวา่ อะไรคอื สงิ่ ทตี่ อ้ งสงั เกต แต่