Page 22 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 22
8-12 การวิจยั เบอื้ งต้นทางสารสนเทศศาสตร์
การวางแผนการเก็บข้อมูลด้วยการสังเกต ผู้วิจัยต้องพิจารณาว่าเครื่องมือวิจัยที่พัฒนาไว้เป็น
ประเภทใด เพอ่ื จะไดด้ ำ� เนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู โดยการบนั ทกึ สงิ่ ทสี่ งั เกตไดใ้ หถ้ กู ตอ้ ง ตอ้ งใชแ้ บบสงั เกตทงั้ สอง
ประเภท หรือเลือกประเภทใดประเภทหนึ่ง ที่เหมาะสมและได้ข้อมูลตรงตามความต้องการสามารถตอบ
วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั ได้
4. การออกแบบการวิเคราะห์และน�ำเสนอข้อมูล
ความยดื หยนุ่ ของแนวการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทก่ี ารเปลย่ี นแปลงในสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ จะมผี ลตอ่ องคป์ ระกอบ
อน่ื ๆ ในระบบ ทำ� ใหก้ ระบวนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพมคี วามแตกตา่ ง แตม่ ลี กั ษณะสำ� คญั
คือ เป็นการจ�ำแนกข้อมูลให้เป็นระบบหมวดหมู่เพื่อน�ำไปด�ำเนินการตีความ ความหมายข้อมูลด้วยหลัก
ตรรกวทิ ยาโดยวธิ กี ารอปุ นยั ผสานกบั ความรเู้ ชงิ ทฤษฎขี องผวู้ จิ ยั แลว้ สรปุ จากองคป์ ระกอบยอ่ ยเพอื่ สรา้ ง
ข้อคน้ พบที่สามารถพัฒนาใหเ้ กดิ องคค์ วามรหู้ รอื ทฤษฎีใหม่ มีรายละเอียดดังนี้
4.1 การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล ขอ้ มลู การวจิ ยั ในงานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพมกั มเี ปน็ จำ� นวนมาก
ดังนั้น ก่อนเร่ิมกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก ผู้วิจัยต้องตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อ
ของขอ้ มลู ทเี่ กบ็ มาไดก้ อ่ น เพอ่ื สรา้ งความนา่ เชอ่ื ถอื ของผลการวจิ ยั การตรวจสอบความตรงและความเทย่ี ง
ของขอ้ มลู ในการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ คอื การใชห้ ลกั การตรวจสอบแบบสามเสา้ มาตรวจสอบ
ในเรอื่ งความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู (data triangulation) (Denzin, 2017; Glaser & Strauss, 2006, p. 291;
Morse, 1994, pp. 226-239) การใชผ้ วู้ จิ ยั ทา่ นอน่ื มารว่ มตรวจสอบ (investigator triangulation) การใช้
ทฤษฎที เ่ี กยี่ วขอ้ งอนื่ ๆ (theory triangulation) การใชร้ ะเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทห่ี ลากหลาย (methodological
triangulation) การตรวจสอบหน่วยการวัด (unit of analysis triangulation) จะท�ำให้เห็น
ความสอดคลอ้ งหรือความขัดแย้งกนั ของขอ้ มูลและผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนสามารถเร่ิมด�ำเนินการได้
พรอ้ มๆ กบั การเริ่มเก็บขอ้ มลู ซงึ่ ตอ้ งใช้เวลาและมีความละเอยี ดถถ่ี ว้ น ในการอ่าน การคิด การวเิ คราะห์
เชื่อมโยงและน�ำมาสงั เคราะหเ์ ขา้ ดว้ ยกนั ตอ้ งใช้หลักการทางวิทยาศาสตรเ์ พื่อประมวลและจัดกลมุ่ ตรวจ
แจงนับ สร้างหน่วยการวิเคราะห์ แปรรูปข้อมูล เพื่อจัดกระท�ำข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่จะสามารถน�ำมา
เชอื่ มโยงกนั ใหมไ่ ด้ รว่ มกบั การใชศ้ ลิ ปะในการวเิ คราะห์ “ความหมาย” ของขอ้ มลู ผา่ นกระบวนการทเ่ี นน้
การวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ อปุ นยั ไดแ้ ก่ การจัดระบบข้อมลู และการลดทอนขนาดของข้อมูลก่อนทีจ่ ะน�ำมาจัด
เรียงข้อมลู การแสดงข้อมลู การสร้างขอ้ สรปุ และยืนยนั ผลสรปุ (Miles, Huberman & Saldana, 2014,
pp. 21-22; Weber, 1990, pp. 21-28) การให้ความหมายโดยค�ำนึงถึงความเก่ียวโยงกับข้อมูล ไม่ใช่
การสร้างความหมายตามทัศนะของผวู้ ิจัย
ขอ้ มลู ในการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทเ่ี กบ็ รวบรวมจากแหลง่ ตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ จากการสงั เกต การสมั ภาษณ์
หรอื เอกสารประเภทตา่ งๆ หลงั จากผวู้ จิ ยั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งสมบรู ณข์ องขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ แล้วจะ
นำ� มาวเิ คราะห์ดว้ ยการวิเคราะหเ์ นือ้ หาซงึ่ ทำ� ได้หลายวิธี ผู้วจิ ัยอาจสร้างแบบบันทกึ ข้อมลู เพอื่ บันทกึ ผล
การวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาตามกรอบการลงรหสั ขอ้ มลู และเกณฑห์ วั เรอื่ งทส่ี รา้ ง เพอื่ ใชใ้ นการอา้ งองิ หรอื วเิ คราะห์
โดยไมม่ ีการสรา้ งกรอบการวเิ คราะหก์ ไ็ ด้