Page 21 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 21

การวิจัยเชิงคณุ ภาพและการวิจยั เชิงทดลองทางสารสนเทศศาสตร์ 8-11
จะรเู้ บอ้ื งตน้ วา่ มอี งคป์ ระกอบอะไรบา้ งทค่ี วรจะถกู นำ� มาสมั พนั ธแ์ ละเกยี่ วขอ้ งในการสงั เกตเพอื่ จะไดข้ อ้ มลู
ที่ต้องการใหม้ ากท่ีสุด เชน่ การกระทำ� ในหว้ งเวลาใดเวลาหน่ึง กจิ กรรมท่ีกระท�ำของคนในสถานการณท์ ่ี
กำ� ลงั สงั เกต ความหมายของการกระทำ� หรือกจิ กรรม การมีส่วนร่วมของบุคคลต่างๆ ในสถานการณน์ นั้ ๆ
ความสมั พนั ธร์ ปู แบบตา่ งๆ ของบคุ คลไมว่ า่ จะเปน็ ความสมั พนั ธท์ างสงั คมหรอื ความสมั พนั ธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม
การสังเกตสถานท่ีว่าเป็นอย่างไร เป็นต้น ประเด็นดังกล่าวช่วยให้ผู้วิจัยมองเห็นข้อมูลท่ีสอดคล้องและ
เกี่ยวข้องกบั ประเด็นทีศ่ ึกษา และบนั ทกึ ไว้เป็นหลักฐานเพ่ือนำ� ไปประมวลผลตอ่ ไป

            2.2.2 บันทึกภาคสนามของนักวิจัย (field journal) เป็นการบันทึกประจ�ำวันของนักวิจัย
ในขณะทล่ี งพน้ื ทภ่ี าคสนามวา่ แตล่ ะวนั ไดพ้ บใคร เหน็ เหตกุ ารณห์ รอื พฤตกิ รรมอะไรทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ประเดน็
ปัญหาที่ก�ำลังท�ำการวิจัย ทั้งนี้ ผู้วิจัยควรใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อื่นที่ช่วยในการบันทึกข้อมูล เช่น
ใชก้ ลอ้ งในการบนั ทกึ ภาพ หรอื ทงั้ ภาพและเสยี งของเหตกุ ารณท์ ศ่ี กึ ษา เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการสงั เกต
มากขนึ้ ชว่ ยให้สามารถน�ำข้อมูลมาทบทวนเพ่อื หาขอ้ สรปุ ท่ชี ัดเจนไดใ้ นภายหลัง เพราะผวู้ ิจัยไมส่ ามารถ
สงั เกตทกุ อยา่ งและบันทึกทุกอยา่ งทเ่ี กดิ ขึ้นไดห้ มดในขณะท่ีเกบ็ ขอ้ มลู

       2.3 แบบบันทึกข้อมูล ใช้ในการบันทึกเน้ือหาที่ได้จากแหล่งข้อมูลประเภทเอกสารหรือสื่อต่างๆ
ไมว่ า่ จะเปน็ การบันทกึ เนอื้ หาจากภาพยนตร์ วีดิทัศน์ ผลงานศิลปะ ไดแ้ ก่ งานจติ รกรรม สถาปตั ยกรรม
หรือประจักษ์หลักฐานต่างๆ ซ่ึงอาจเป็นแบบบันทึกข้อมูลเชิงปริมาณท่ีใช้กันมากในการวิเคราะห์เนื้อหา
หรอื การบนั ทึกเนื้อหาในเชิงคุณภาพทเ่ี นน้ การพรรณนาสงิ่ ท่ผี วู้ ิจัยพบเห็น ตามกรอบประเดน็ ทีก่ �ำหนดไว้
เบือ้ งต้น และสามารถเปดิ พื้นทีใ่ นการบนั ทกึ ข้อคดิ เหน็ ตา่ งๆ ลงไปได้ เพ่ือเป็นประโยชน์ในการนำ� ข้อมูล
ไปสังเคราะห์ต่อไป

3. การออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล

       เม่ือผู้วิจัยออกแบบเครื่องมือการวิจัยและด�ำเนินการทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือการวิจัยท่ี
สร้างขึ้นเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยต้องวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เหมาะสมกับเคร่ืองมือแต่ละชนิด และ
ท่ีส�ำคัญต้องมีการเตรียมตัวผู้วิจัยหรือผู้ช่วยวิจัย เพราะในการวิจัยเชิงคุณภาพถือว่าผู้วิจัยเป็นเคร่ืองมือ
การวจิ ยั ทส่ี ำ� คญั ดว้ ย ดงั นน้ั ผวู้ จิ ยั ตอ้ งมคี วามพรอ้ มในการลงพนื้ ทเี่ พอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เชน่ การทำ� ความ
เขา้ ใจในประเด็นทีเ่ ปน็ ปัญหาการวจิ ัย ตวั แปรท่ีตอ้ งการศกึ ษา และประเด็นคำ� ถามต่างๆ ท�ำความคุ้นเคย
กับเนอื้ หาในเครือ่ งมือการวจิ ยั แต่ะชนดิ เพอื่ ลดความคลาดเคล่อื นของการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

       การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารทแ่ี ตกตา่ งกนั จะมหี ลกั การทแี่ ตกตา่ งกนั แมก้ ารเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ย
วิธกี ารเดียวกนั ก็อาจมีลกั ษณะท่ีแตกต่างกนั เช่น การสมั ภาษณ์ แนวค�ำถามท่พี ฒั นาไว้สามารถนำ� ไปใช้
ในการสมั ภาษณไ์ ดห้ ลายแบบ เชน่ การสมั ภาษณแ์ บบเจาะลกึ (in-depth interview) หรอื การสมั ภาษณ์
กลุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (focus group interview) การก�ำหนดว่าจะใชว้ กี ารใด ขนึ้ อยกู่ บั สะดวกของผ้ใู ห้
ข้อมูล การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเป็นการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลเป็นรายบุคคล ซ่ึงอาจเหมาะกับกลุ่มผู้ให้
ข้อมูลหลักท่ีไม่คอยมีเวลามาร่วมกลุ่มให้สัมภาษณ์พร้อมๆ กับผู้ให้ข้อมูลหลักท่านอื่นๆ ในรูปแบบ
การสมั ภาษณเ์ ฉพาะกลมุ่ จึงตอ้ งมีการวางแผนประสานตดิ ต่อนัดหมาย เพ่ือใชก้ ารสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26