Page 18 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 18

8-8 การวิจยั เบอ้ื งต้นทางสารสนเทศศาสตร์
       2. 	การวิจัยเชงิ คณุ ภาพและการวิจยั เชิงปรมิ าณมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ยั แตกต่างกนั ดังนี้
       วัตถุประสงค์ในการวิจัยเชิงคุณภาพ มุ่งสร้างความเข้าใจในบริบท ตีความความคิด/เหตุการณ์

และท�ำความเข้าใจกับมุมมองของผู้ท่ีมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ เพ่ือการค้นพบแนวคิดใหม่อันจะน�ำไปสู่การ
สรา้ งสมมตฐิ านหรอื ทฤษฎใี หมโ่ ดยการอธบิ ายคณุ ลกั ษณะของสิง่ ที่ศึกษา	

       วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงปริมาณ มุ่งอธิบายเหตุ-ปัจจัยของการเกิดปรากฏการณ์ ท�ำนาย
หรือยืนยันแนวคิด/ทฤษฎีที่มีอยู่เดิม เพ่ือใช้ผลการศึกษาท่ีเป็นตัวเลขเชิงปริมาณในการสรุปอ้างอิงไปยัง
กลมุ่ ประชากร

เรื่องที่ 8.1.2
การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพทางสารสนเทศศาสตร์

       การวางแผนล่วงหน้าก่อนท�ำการวจิ ัยกเ็ พ่อื ให้งานวจิ ัยมคี ณุ ภาพดที ีส่ ุด ภายใต้ขอ้ จำ� กดั ดา้ นเวลา
กำ� ลงั คน ทรพั ยากร แหลง่ ขอ้ มลู ฯลฯ งานวจิ ยั ทมี่ คี ณุ ภาพมรี ากฐานมาจากขอ้ มลู ทน่ี า่ เชอื่ ถอื การออกแบบ
การวจิ ยั ในงานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพเปน็ กระบวนการทย่ี อ้ นกลบั ไปมาและมกี ารเปลยี่ นแปลงไดต้ ลอดเวลา เพอ่ื
ความเหมาะสมโดยมีวัตถุประสงคส์ �ำคญั คือ การไดม้ าซึ่งข้อมูลทสี่ ามารถตอบปัญหาทีต่ ้ังไว้ได้ คือต้องรู้
ว่าปญั หาประเภทใดต้องใช้การวจิ ยั เชิงคุณภาพหรอื เชิงปรมิ าณ เชน่ การประเมินความพึงพอใจต่อการใช้
ระบบสารสนเทศที่พัฒนาข้ึนใหม่ หากต้องการทราบว่าพึงพอใจอย่างไร ผู้วิจัยต้องเลือกใช้การวิจัยเชิง
คณุ ภาพมาศกึ ษาปญั หา แตห่ ากตอ้ งการทราบระดบั ความพงึ พอใจกต็ อ้ งเลอื กใชก้ ารวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ เปน็ ตน้
การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพทางสารสนเทศศาสตร์ ประกอบด้วย การออกแบบประชากรและกลุ่ม
ตวั อยา่ ง การออกแบบเครอื่ งมอื การวจิ ยั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และการออกแบบการวเิ คราะหแ์ ละนำ� เสนอ
ข้อมลู ดงั น้ี

1. การออกแบบประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

       การออกแบบประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ ต้องค�ำนึงถึงจุดมุ่งหมายของ
กระบวนการวิจัย ผู้วิจัยต้องรู้เป้าหมาย รู้จักประชากรการวิจัยว่าจะต้องไปหาข้อมูลจากใคร หรืออะไร
อยทู่ ใี่ ด มจี ำ� นวนเทา่ ใด จะหาไดอ้ ยา่ งไร ดว้ ยหลกั การเชน่ เดยี วกบั การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณแตม่ ขี อ้ พจิ ารณาใน
การดำ� เนนิ การที่แตกตา่ งกนั บางประการ ดงั น้ี

       1.1 	การออกแบบประชากร เป็นการพิจารณาหาประชากรที่จะสามารถให้ข้อมูลที่ต้องการและ
สามารถตอบปญั หาและวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั ทตี่ ง้ั ไว้ ซงึ่ อาจเปน็ ไดท้ ง้ั การศกึ ษาจากคนแตล่ ะคน หรอื กลมุ่
คนที่เป็นตัวแทนขององค์การ ชุมชน กลุ่มสังคม ท่ีจะให้ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ความรู้ ภูมิปัญญา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23