Page 19 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 19

การวิจัยเชงิ คุณภาพและการวิจยั เชิงทดลองทางสารสนเทศศาสตร์ 8-9
ทัศนคติ พฤติกรรม ท่ีสามารถน�ำมาวเิ คราะหใ์ นเชงิ ลกึ วา่ ท�ำไม หรืออยา่ งไร หรอื อาจเป็นการศึกษาจาก
ประชากรการวจิ ยั ทเี่ ปน็ สง่ิ ของกไ็ ด้ เชน่ การศกึ ษาจากเอกสาร หรอื วตั ถทุ างวฒั นธรรม (artifacts) ตา่ งๆ
เช่น ภาพเขยี น สิ่งก่อสร้างทางสถาปตั ยกรรม ภาพยนตร์ หรอื เหตุการณ์ เปน็ ตน้

       1.2 	 การออกแบบกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยเชิงคุณภาพโดยท่ัวไปจะพบว่ามีลักษณะต่อไปน้ี
คอื ใชก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งขนาดเลก็ มลี กั ษณะเฉพาะเจาะจง โดยคำ� นงึ ถงึ ศกั ยภาพในการใหข้ อ้ มลู ทสี่ มบรู ณท์ สี่ ดุ
ของกลมุ่ ตัวอยา่ งน้นั ๆ (Patton, 2014, p. 52) ดังนี้

            1.2.1 	การก�ำหนดจ�ำนวนตัวอย่างหรือขนาดของกลุ่มตัวอย่างท่ีเหมาะสม ในการวิจยั เชิง
คุณภาพจะเรยี กกล่มุ ตวั อย่างที่เปน็ แหล่งขอ้ มูลทเี่ ปน็ บุคคลจะศกึ ษาวา่ “ผใู้ หข้ ้อมูลส�ำคัญ” (key infor-
mant) การกำ� หนดวา่ จะใชก้ ค่ี นจงึ จะเหมาะสมนน้ั แตกตา่ งจากวธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ โดยทวั่ ไป
จะกำ� หนดไวจ้ ำ� นวนหนง่ึ ทคี่ าดวา่ ไดข้ อ้ มลู เพยี งพอ ไมไ่ ดก้ ำ� หนดไวก้ อ่ น ไมม่ หี ลกั การทช่ี ดั เจน แตจ่ ำ� นวน
ที่เหมาะสมจะสามารถกำ� หนดได้ เม่อื ไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู พร้อมกับวเิ คราะห์ขอ้ มูลไปจนพบว่าข้อค้นพบ
เริ่มซาํ้ กันไม่พบข้อมลู ใหม่เกิดขึ้น เรยี กว่าขอ้ มลู “อมิ่ ตัว” นกั วจิ ัยจงึ หยุดเกบ็ ข้อมูล จำ� นวนตัวอยา่ งท่ีได้
ด�ำเนนิ การเกบ็ ข้อมูลมาแลว้ จะเปน็ จำ� นวนตัวอย่าง/ผใู้ หข้ ้อมลู ทเี่ หมาะสมในการวจิ ัยนนั้

            1.2.2 	การเป็นตัวแทนประชากร การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ
ไม่ค�ำนึงถึงความเป็นตัวแทนประชากรของกลุ่มตัวอย่างที่เลือก เนื่องจากการวิจัยเชิงคุณภาพมุ่งเน้น
การศกึ ษาปญั หาในเชงิ ลกึ จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม อาจเลอื กโดยพจิ ารณาจากลกั ษณะความเปน็
ตวั แทนของกลมุ่ คนธรรมดาสว่ นใหญ่ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ตวั อยา่ งของกลมุ่ ประชากร หรอื อาจเลอื กโดยการจดั กลมุ่
ประชากรเปน็ กลมุ่ เล็ก แลว้ จงึ เลือกกลมุ่ ตัวอย่างจากกลมุ่ ประชากรทีย่ อ่ ยลงมา ให้เพียงพอหรือเหมาะสม
กบั คำ� ถามวจิ ยั ทต่ี งั้ ไว้ การเลอื กวธิ กี ารสมุ่ ทเี่ หมาะสมขนึ้ อยกู่ บั ปญั หาการวจิ ยั วา่ ตอ้ งการศกึ ษาอะไร (Mar-
shall & Rossman, 2015, p. 78) ผู้วิจัยจะตอบได้ว่าจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างที่เลือกมามีความเหมาะสม
สามารถเปน็ ตวั แทนประชากรท่ีไดห้ รือไม่

       1.3 	การเลือกกลุ่มตัวอย่าง การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพมีลักษณะเดียวกับ
การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ ท่ีต้องค�ำนึงถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย เงินทุน และ
ประสบการณข์ องผวู้ จิ ยั ฯลฯ แตม่ คี วามตา่ งกนั ในจดุ มงุ่ หมายและวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ยี่ ดื หยนุ่ กวา่ บางประการ ดงั น้ี

            1.3.1		การจะเลือกวิธีการใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของค�ำถามการวิจัย วิธีการวิเคราะห์
การวิจัยที่เลือกสภาพแวดล้อมของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งล้วนมีอิทธิพลต่อการให้ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเร่ืองเวลา
พ้ืนที่ และสถานการณ์ ในการออกแบบประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพอาจใช้เทคนิค
ตา่ งๆ ผสมผสานกนั ได้ ตราบเทา่ ทจี่ ะเออ้ื อำ� นวยใหผ้ วู้ จิ ยั ไดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการและตอบคำ� ถามการวจิ ยั ได้

            1.3.2		หลักการเลือกไม่ค�ำนึงถึงปัจจัยเรื่องความสามารถในการน�ำไปสู่การสรุปเพื่ออ้างอิง
กบั กล่มุ ประชากร เพราะปจั จยั ดงั กล่าวไมใ่ ชจ่ ดุ มงุ่ หมายของการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ เนน้ การศกึ ษาจากกล่มุ
ตัวอย่าง ซึง่ นิยมเรียกวา่ “ผู้ใหข้ อ้ มูลสำ� คญั ” มากกว่าเรียกวา่ เป็นกลุม่ ตวั อย่างเช่นท่ีใช้กนั ในการวิจยั เชงิ
ปรมิ าณ เพราะมงุ่ หาคนทม่ี คี วามสามารถใหข้ อ้ มลู ไดร้ อบดา้ น มากกวา่ การหาตวั อยา่ งทม่ี คี วามเปน็ ตวั แทน

            1.3.3		การเลือกวิธีสุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพมีหลายวิธีการ การเลือกเทคนิค
การสุ่มใดน้ันขึ้นอยู่กับวิธีการเก็บข้อมูล เม่ือเก็บข้อมูลไประยะหนึ่งจนได้เค้าร่างของข้อสรุประดับหนึ่ง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24