Page 15 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 15

อวจั นภาษาในการสื่อสาร 3-5

ความน�ำ

       ทกั ษะการสอื่ สารของมนษุ ยป์ ระกอบไปดว้ ย 4 ทกั ษะหลกั คอื การฟงั การอา่ น การพดู และการเขยี น
ซึ่งทักษะเหล่าน้ีอาศัยการใช้ถ้อยค�ำภายใต้โครงสร้างทางภาษานั้นๆ ทักษะเหล่าน้ีจึงเป็นส่วนหนึ่งของ
“วัจนภาษา” แต่ถ้าสมมตวิ า่ เราก�ำลังสนทนากับคู่สนทนากันอย่างออกรส สง่ิ ทเ่ี ราไดจ้ ากการฟงั ค่สู นทนา
ไม่ได้เป็นเพียงแค่เน้ือหาจากการพูดเพื่อถ่ายทอดเนื้อความเท่านั้น แต่เรารับรู้ความรู้สึกของเขาผ่าน
นํา้ เสยี งทใ่ี ช้ในการเล่า รบั รู้อารมณข์ องเขาผ่านสีหน้า และรับรู้ความตงั้ ใจของค่สู นทนาและความส�ำคญั ใน
เรอ่ื งทเี่ ขาเลา่ ผา่ นการแสดงทา่ ทางประกอบ เปน็ ตน้ โดยนา้ํ เสยี ง สหี นา้ ทา่ ทาง ทค่ี สู่ นทนาแสดงออกมานี้
ไมไ่ ดอ้ าศยั ถอ้ ยคำ� ซง่ึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของ “อวจั นภาษา” จะเหน็ ไดว้ า่ ผลลพั ธจ์ ากการสนทนานไี้ มไ่ ดม้ เี พยี ง
แค่ประเด็นของเร่ืองราวที่ส่งผ่านวัจนภาษาเท่าน้ัน แต่รวมไปถึงความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมการแสดง
สหี นา้ ทา่ ทางของผถู้ า่ ยทอดผา่ นอวจั นภาษาดว้ ย ดงั นน้ั อวจั นภาษาจงึ เปน็ เรอ่ื งทตี่ อ้ งศกึ ษาและทำ� ความเขา้ ใจ
ในฐานะทีม่ บี ทบาทสำ� คญั ในการส่ือสาร

เร่ืองท่ี 3.1.1
ความหมายและวิวัฒนาการของอวัจนภาษา

1. 	ความหมาย

       เมื่อแยกค�ำว่า “อวัจนภาษา” ตามโครงสร้างไวยากรณ์บาลีสันสกฤต พบว่าประกอบด้วยส่วน
ต่างๆ ดงั น้ี

       อ (อะ) เป็นอักษรใช้น�ำหน้าค�ำอ่ืนที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต หรือท่ีเรียกว่า อุปสรรค
(prefix) โดยใช้บอกความปฏิเสธหรือตรงกันข้าม ตัวอย่างเช่น อธรรม หมายถึง ไม่ใช่ธรรม อวิชชา
หมายถงึ ความไมร่ ู้แจง้ เป็นต้น

       วจน (วะ-จะ-นะ) หมายถงึ คำ� พูด ถ้อยคำ�
       ภาษา หมายถึง เสียงหรือกิริยาอาการท่ีท�ำความเข้าใจซ่ึงกันและกันได้ ค�ำพูดหรือถ้อยค�ำท่ีใช้
พดู จากัน
       ดังน้ัน คำ� ว่า อวัจนภาษา จึงหมายถึง ภาษาท่ีไม่ใช่ค�ำพูดหรือถ้อยค�ำในการส่ือสาร แต่สามารถ
เป็นที่เข้าใจซ่ึงกันและกันได้ โดยในต�ำราหรืองานวิจัยบางเล่ม อาจมีการใช้ค�ำว่า การสื่อสารเชิงอวัจนะ
ซึง่ ถอื วา่ มคี วามหมายเทียบเทา่ กัน และมาจากภาษาอังกฤษคำ� เดยี วกนั คอื คำ� วา่ nonverbal language
ซ่งึ แปลวา่ อวัจนภาษา หรือ nonverbal communication ซง่ึ แปลวา่ การส่อื สารเชิงวัจนะ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20