Page 16 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 16
3-6 ภาษาและทกั ษะเพอ่ื การสื่อสาร
2. วิวัฒนาการของอวัจนภาษา
มีการสันนิษฐานว่าอวัจนภาษาเกิดก่อนวัจนภาษา นั่นคือ ในยุคโบราณ ก่อนท่ีมนุษย์จะมีการ
พฒั นากฎเกณฑท์ างภาษาเชงิ ลายลกั ษณอ์ กั ษรเพอ่ื ใชใ้ นการสอ่ื สารนน้ั มนษุ ยส์ อ่ื สารกนั ดว้ ยภาษาทา่ ทาง
อยา่ งงา่ ยและภาษาสญั ลกั ษณเ์ ปน็ หลกั หรอื แมก้ ระทง่ั เดก็ ทารกทต่ี อ้ งการสอ่ื สารกบั พอ่ แม่ เขายงั ไมส่ ามารถ
พดู คุยเป็นค�ำหรอื ประโยคได้ จึงใชว้ ิธกี ารส่ือสารแบบอ่ืนเพอื่ บอกความต้องการของเขา แม้ว่าอวจั นภาษา
ของเดก็ ทารกตอ้ งอาศยั การคาดเดาหรอื ประสบการณข์ องผเู้ ปน็ พอ่ แมใ่ นการตคี วามการสอื่ ความหมาย เชน่
เด็กร้องไหอ้ าจเปน็ เพราะรสู้ ึกกลวั หรือหิวนม หรอื การใช้มือปัดสิ่งของออกเพื่อสื่อว่าไมช่ อบส่ิงนั้น เปน็ ต้น
ดังนั้น คนเราจึงใชอ้ วจั นภาษาแบบอัตโนมตั ิ ไมร่ ตู้ วั อยตู่ ลอดเวลา ทง้ั การแสดงออกของเราเอง และการ
อา่ นอวจั นภาษาของคนอน่ื หรอื คสู่ นทนา ทง้ั จากการสอื่ สารแบบตอ่ หนา้ เชน่ สหี นา้ ทา่ ทาง การใชส้ ายตา
น้าํ เสยี ง สัมผสั น�ำไปสกู่ ารสอ่ื สารผ่านสื่อ เชน่ ภาพวาด สี การแตง่ กาย สญั ลกั ษณต์ า่ งๆ ท่ีนอกเหนอื
จากการแสดงออกของตวั ผูส้ ง่ สารเอง
การเกิดภาษาของมนุษย์ มวี วิ ฒั นาการมาจากภาษาท่าทาง ภาษาพดู และภาษาเขียน ดงั นี้
2.1 ภาษาท่าทาง (Gesture Language) คือ อวัจนภาษาที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบธรรมชาติ
ทัง้ พชื หรอื สตั ว์ทอี่ ยรู่ อบๆ ตัว สามารถใช้ได้เฉพาะในบริบทการสอื่ สารนัน้ ๆ ท้งั การสรา้ งความหมายและ
การสอ่ื ความหมาย เปน็ ภาษาแรกที่มนุษย์ใชใ้ นการสือ่ ความหมาย
2.2 ภาษาพูด (Spoken Language) คอื อวจั นภาษาซง่ึ เกดิ จากเสยี งของมนษุ ยท์ สี่ รา้ งขน้ึ มาเพอ่ื
ใชส้ อื่ ความหมาย ท�ำใหก้ ารสอื่ สารของมนษุ ยม์ ปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขน้ึ สามารถเขา้ ใจซง่ึ กนั และกนั ได้ น�ำไปสู่
การพัฒนาการอยู่ร่วมกันในสังคมของมนุษย์ ในข้ันแรกภาษาพูดเกิดจากการเลียนเสียงธรรมชาติ ต่อมา
จึงมีการคิดคน้ และสรา้ งหน่วยเสียงเพ่ือทดแทนความหมายข้ึนในรปู แบบต่างๆ
2.3 ภาษาเขียน (Written Language) คอื อวจั นภาษาท่ีอยใู่ นรปู ของรปู ภาพ สญั ลักษณ์ หรือ
ลายเสน้ ทส่ี รา้ งขน้ึ มาเพอ่ื ใชส้ อื่ ความหมาย โดยภาษาเขยี นนมี้ ขี นั้ ตอนการเกดิ ตามลำ� ดบั คอื เรม่ิ จากการใช้
ภาษารูปภาพ (Pictograph) เป็นการเขียนรูปภาพท่ีใช้แสดงความหมายต่างๆ ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นใน
การใชภ้ าพแทนความหมายใหเ้ ขา้ ใจไดต้ ามรปู ภาพทเ่ี ขยี นไว้ ในระยะเวลาถดั มา จงึ ไดว้ วิ ฒั นาการเปน็ การ
ใช้ ภาษาความคิด (Ideograph) เป็นการนิยามรูปภาพด้วยความหมายอ่ืนๆ ที่มีความเก่ียวข้องและ
สอดคลอ้ งกนั นอกเหนอื จากความหมายโดยตรงทไี่ ดจ้ ากภาพ และในทา้ ยทส่ี ดุ เมอ่ื มนษุ ยม์ คี วามสามารถ
ในการใชภ้ าษามากข้นึ จงึ พฒั นามาเปน็ การใช้ ภาษาศาสตร์ (Linguistic) ซ่ึงสะท้อนความสามารถของ
มนษุ ยใ์ นการใชส้ ญั ลกั ษณต์ า่ งๆ เปน็ ตวั อกั ษรทสี่ ะกดดว้ ยพยญั ชนะและสระ โดยทแ่ี ตล่ ะตวั อกั ษรสามารถ
ออกเสยี งและสอื่ ความหมายไดใ้ นขณะเดยี วกนั โดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งอาศยั รปู ภาพ ชว่ ยเพมิ่ โอกาสในการแปล
ความหมายเดยี วกนั