Page 20 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 20
3-10 ภาษาและทักษะเพื่อการส่ือสาร
เดียวกันอาจจะสามารถแสดงออกได้หลายทางซึ่งแตกต่างกัน ตัวอย่าง ความรู้สึกโกรธอาจถูกแสดงออก
โดยการเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย เชน่ กระทบื เทา้ สะบดั หนา้ หรอื อาจถกู แสดงออกโดยการนง่ิ ไมเ่ คลอื่ นไหว
แตจ่ อ้ งหนา้ คสู่ นทนา นอกจากนนั้ แลว้ การแสดงออกทางอวจั นภาษาเพยี งรปู เดยี วอาจจะสอื่ ความหมายได้
อย่างหลากหลายในด้านความรู้สึก เช่น เมื่อเราเห็นคนหน้าแดง อาการหน้าแดงอาจจะหมายถึง ความ
อบั อาย ความขวยเขนิ ความพงึ พอใจ ความโกรธ ความเหนอ่ื ย ซงึ่ ลกั ษณะแบบนกี้ ก็ อ่ ใหเ้ กดิ ความสบั สนได้
ความก�ำกวมในความหมายของอวัจนภาษานี้ อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากความแตกต่างกันในด้าน
ประสบการณข์ องคนในสงั คม โดยเฉพาะคสู่ นทนาหรอื คสู่ อ่ื สารถา้ ยงิ่ อยใู่ นสงั คมคนละกลมุ่ คนละวฒั นธรรม
การแปลความหมายอวัจนภาษาย่ิงแตกต่างกันมาก การยืนใกล้ชิดกันมากๆ ในสังคมหน่ึงในวัฒนธรรม
หนง่ึ เปน็ สญั ลกั ษณข์ องความอบอนุ่ เปน็ มติ ร ใหค้ วามสนทิ สนมเปน็ กนั เอง แตใ่ นอกี สงั คมหนง่ึ อาจจะเปน็
สัญลักษณ์ของการคุกคาม ความก้าวร้าว ความไม่เป็นมิตร ดังน้ัน การแปลความหมายของคนที่มาจาก
วฒั นธรรมทแี่ ตกตา่ งกบั ประสบการณแ์ ตกตา่ งกนั กย็ อ่ มตอ้ งมคี วามแตกตา่ งกนั ตามไปดว้ ย ความแตกตา่ งกนั
ในการแปลความหมายนี้เองก่อให้เกิดความก�ำกวมในการส่ือสารทางอวัจนภาษา ซ่ึงท�ำให้การสื่อสาร
ผิดพลาดหรือล้มเหลวได้
2. การขัดกันระหว่างอวัจนภาษาและวัจนภาษา นอกจากคณุ ลกั ษณะของความกำ� กวมและการ
ตีความอวัจนภาษาท่ีแตกต่างกันแล้ว การขัดกันระหว่างอวัจนภาษาและวัจนภาษาก็เป็นอุปสรรคในการ
สอ่ื สารอกี ประการหนงึ่ เพราะจะเปน็ สง่ิ สำ� คญั ทท่ี ำ� ใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการสอื่ สารลดลง เปน็ การยากทเี่ ราจะ
สามารถตรวจทานความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ วา่ เปน็ อยา่ งไร โดยเฉพาะเมอื่ สารทไ่ี ดร้ บั มคี วามขดั กนั การขดั กนั ของ
อวจั นภาษาและวจั นภาษานอ้ี าจเกดิ ขน้ึ ไดท้ งั้ กบั ผรู้ บั สารและผสู้ ง่ สาร เชน่ พอ่ แมท่ ตี่ ะโกนวา่ “ฉนั ตอ้ งการ
ให้บ้านน้ีเงียบท่ีสุด” หรือครูที่พูดว่า “ครูมีเวลาว่างที่จะพูดกับนักเรียน” แต่ในขณะเดียวกัน ช�ำเลืองดู
นาฬกิ า และเรม่ิ ลงมอื เกบ็ ขา้ วของ จดั กระเปา๋ อยา่ งเรง่ รบี หรอื เมอ่ื เราไดย้ นิ พดู วา่ “ฉนั ชอบเธอ” แตน่ าํ้ เสยี ง
เยน็ ชาหา่ งเหิน สีหนา้ เคร่งเครียดกอดอกโน้มตวั ไปดา้ นหลัง ซงึ่ ลักษณะอวัจนภาษาแบบนสี้ ามารถท�ำให้
คู่สนทนาเกิดความรู้สึกที่ว่า “อย่าเขา้ มาใกล้ฉนั นะ” หรือ “ฉันไมไ่ วว้ างใจในตวั เธอ” เมื่อเราได้รบั สารท่ี
ขัดกันจากการส่ือสารท้ังสองแบบ เราก็มีแนวโน้มท่ีจะเชื่อถือในส่ิงท่ีเรารับรู้หรือรู้สึกซึ่งเป็นอวัจนภาษา
มากกวา่ วจั นภาษา การสอ่ื สารที่ขดั กนั ของวัจนภาษาและอวัจนภาษานี้เรยี กวา่ “เง่อื นสองช้ัน” ซ่งึ ท�ำให้
ผู้นบั สารเกิดความสงสัยในสารท่ีไดร้ ับอย่างมาก
โดยสรปุ แลว้ อวจั นภาษาเปน็ สง่ิ ทม่ี คี วามสำ� คญั และมผี ลในการสรา้ งใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ หรอื การรบั รู้
เชงิ อารมณไ์ ดม้ ากกวา่ วจั นภาษา แตอ่ วจั นภาษากท็ ำ� ใหเ้ กดิ ความกำ� กวมไดง้ า่ ย การแสดงออกเพอ่ื สอ่ื สาร
ความหมายของแต่ละบุคคลก็มีความแตกต่างกันมากขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของแต่ละคนที่จะส่งสารหรือ
รับสาร หรือที่จะแปลความหมายของสารตามความเข้าใจของตนเอง จึงเป็นการยากที่จะสื่อความหมาย
อวจั นภาษาใหเ้ ปน็ ทเ่ี ขา้ ใจอยา่ งชดั เจนตลอดเวลา และเนอ่ื งจากอวจั นภาษามคี วามสำ� คญั ตอ่ การสอื่ ความหมาย
และแฝงอยู่ในการสื่อสารของเราตลอดเวลา ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ดังน้ันเพื่อให้การสื่อสาร
ของเรามปี ระสทิ ธภิ าพตามความมงุ่ หมาย เราจงึ ตอ้ งมที กั ษะในการแสดงออกทง้ั อวจั นภาษาและวจั นภาษา
สิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ความสามารถที่จะท�ำให้อวัจนภาษาและวัจนภาษามีความเข้ากันได้อย่างดี
ไม่เกดิ ความขดั กันอันจะท�ำใหก้ ารสือ่ สารของเราล้มเหลวได้