Page 24 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 24

3-14 ภาษาและทักษะเพ่อื การสื่อสาร

3. 	การเรียนรู้ทางสังคม

       การแสดงอวัจนภาษาบางอย่างไม่ได้เกิดจากสัญชาตญาณของมนุษย์เอง แต่เกิดจากการเรียนรู้
อย่างไมเ่ ป็นทางการจากครอบครัว คนรอบขา้ ง สังคม และสมยั นยิ ม เช่น เสือ้ ผ้าเครอ่ื งแต่งกาย ท่าทาง
ใหมๆ่ ทเี่ กดิ จากดารา นกั แสดง ทนี่ ำ� เสนอผา่ นสอื่ โดยการเรยี นรเู้ หลา่ นไี้ ดจ้ ากการสงั เกต (observation)
นำ� ไปสกู่ ารเลยี นแบบ (imitation) ของคนในสงั คม หากอวจั นภาษานนั้ เปน็ ทย่ี อมรบั ควรสง่ เสรมิ ใหป้ ฏบิ ตั ิ
ผู้แสดงอวัจนภาษาน้ันก็จะได้รับแรงเสริมทางบวก (reinforcement) เพ่ือสนับสนุนให้ผู้ส่งสารแสดง
อวจั นภาษาเหลา่ นน้ั อกี แตถ่ า้ อวจั นภาษานน้ั ไมเ่ ปน็ ทยี่ อมรบั ไมค่ วรปฏบิ ตั ติ อ่ ผรู้ บั สาร ผแู้ สดงอวจั นภาษา
น้ันก็จะได้รับแรงเสริมทางลบหรือการลงโทษ (punishment) เพื่อบอกผู้ส่งสารไม่ควรแสดงอวัจนภาษา
เหล่านี้อีก แต่อย่างไรก็ตามไม่สามารถการันตีได้ว่าผู้ส่งสารนั้นจะแสดงอวัจนภาษาที่ไม่เป็นที่ยอมรับใน
ครั้งต่อไปหรือไม่ เราจึงพบว่ามีอวัจนภาษาบางอย่างที่เกิดขึ้นและนิยมใช้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งหรือมี
ความหมายอย่างหน่ึงในช่วงเวลาหน่ึง แต่มีความหมายแตกต่างกันออกไปในอีกช่วงเวลาหนึ่ง เนื่องจาก
การเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงความหมายไปตามความนิยมของสังคม เช่น ในช่วงเวลาหนึ่งผู้หญิงควร
แต่งกายด้วยกระโปรงไปท�ำงานมากกว่าจะสวมกางเกงเพ่ือแสดงออกถึงความสุภาพเรียบร้อย แต่ต่อมา
การสวมกางเกงไปท�ำงานของผู้หญงิ กลายเป็นเรอื่ งปกตทิ แ่ี สดงถึงความสภุ าพได้เชน่ กัน 	

4. 	ความแตกต่างระหว่างเพศ

       Morreale, Spitzberg & Barge (2001) ได้สรุปข้อค้นพบจากงานวิจัยตา่ งๆ ทเี่ กีย่ วกับความ
สมั พนั ธร์ ะหวา่ งเพศและการใชอ้ วจั นภาษา โดยพบวา่ ผหู้ ญงิ มกี ารใชแ้ ละความเขา้ ใจในอวจั นภาษาทหี่ ลาก
หลายมากกวา่ ผชู้ าย กลา่ วคอื ผหู้ ญงิ ใชก้ ารสบตา (eye-contact) และการยมิ้ และพยกั หนา้ ยอมรบั มากกวา่
ผชู้ าย หรอื ผหู้ ญงิ สนใจในการรกั ษาความสมั พนั ธข์ องตนเองและคสู่ นทนา ผา่ นการแสดงความกระตอื รอื รน้
ความสนใจ และการตอบรบั ในระหวา่ งสนทนา สว่ นผชู้ ายนน้ั ไมค่ อ่ ยแสดงอวจั นภาษาเพอื่ สง่ เสรมิ การสอื่ สาร
ของตนเทา่ ใดนกั ซงึ่ นกั วจิ ยั ชวี้ า่ ผชู้ ายไมไ่ ดใ้ หค้ วามส�ำคญั กบั ประเดน็ ของการสอ่ื สารเพอ่ื สรา้ งรกั ษาสมั พนั ธ์
แตส่ นใจในเนอื้ หาของการสอื่ สารมากกวา่ นอกจากนี้ ยงั พบวา่ ชายหญงิ ใชอ้ วจั นภาษาเดยี วกนั ในความหมาย
ต่างกนั เช่น การสัมผัส ฝ่ายชายใช้แสดงอ�ำนาจ ฝา่ ยหญงิ ใชแ้ สดงความหว่ งใย เปน็ ต้น

กิจกรรม 3.1.3
       ปจั จยั ใดบ้างทีม่ ผี ลต่อการใช้อวจั นภาษา

แนวตอบกิจกรรม 3.1.3
       ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการใช้อวัจนภาษา ได้แก่ ววิ ัฒนาการของระบบภาษา วฒั นธรรม การเรียนรู้ทาง

สังคม และความแตกตา่ งระหวา่ งเพศ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29