Page 27 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 27

อวัจนภาษาในการสือ่ สาร 3-17
เข้าถึงได้ง่าย แตกต่างจากการสวมสูทผูกเนคไทในขณะท่ีเข้าประชุมซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็น
ทางการน่าเชือ่ ถือ

          ภาพท่ี 3.3 เครื่องแต่งกาย เสื้อผ้าหน้าผม และเครื่องประดับ สามารถส่ือความหมายได้

2. 	ภาษานํ้าเสียง (Vocalics)

       นาํ้ เสยี งเปน็ อวจั นภาษาอกี รปู แบบหนงึ่ ทใี่ ชใ้ นการสอ่ื สาร โดยนา้ํ เสยี งไมใ่ ชภ่ าษาพดู แตเ่ ปน็ สง่ิ ท่ี
แฝงอยู่ในภาษาพูดหรือค�ำพูดท่ีส่ือออกมา เมื่อมนุษย์เปล่งเสียงเป็นค�ำพูด น้ําเสียงจะเป็นส่ิงก�ำหนดว่า
สง่ิ ทเี่ ขาพดู นนั้ นา่ เชอ่ื ถอื ไมน่ า่ เชอื่ ถอื เปน็ มติ ร จรงิ ใจหรอื หลอกลวง สภุ าพหรอื หยาบคาย นนั่ คอื นา้ํ เสยี ง
มสี ว่ นชว่ ยกำ� หนดความหมายของคำ� พดู ใหเ้ ดน่ ชดั ยง่ิ ขน้ึ เราสามารถใชน้ าํ้ เสยี งเปน็ ชอ่ งทางสอื่ อารมณแ์ ละ
ความรู้สึกได้ ในการใช้ค�ำพูด น้ําเสียงเป็นตัวช่วยก�ำหนดความหมายของเสียง ท�ำให้ความหมายนั้น
เปลยี่ นแปลงไป หรอื ยนื ยนั ความหมายนน้ั ใหเ้ ดน่ ชดั ยงิ่ ขนึ้ ในบางครง้ั เราจะสามารถทราบถงึ ความรสู้ กึ ของ
คนได้จากลักษณะของนํ้าเสียงเมื่อคนเราทักทายกัน ถ้าทักทายด้วยเสียงกระตือรือร้นก็บอกถึงความรู้สึก
ตื่นเต้นดีใจท่ีได้พบ หรือถ้าทักทายด้วยเสียงเนืองๆ ราบเรียบ ก็อาจจะให้ความรู้สึกท่ีไม่น่าประทับใจนัก
ส�ำหรบั ผู้ไดร้ บั การทักทาย

       นา้ํ เสยี งอาจแสดงออกไดท้ ง้ั ทางคณุ ภาพของเสยี งพดู ความดงั ของเสยี งพดู ระดบั ความทมุ้ แหลม
ของเสียงพูด และอัตราเร็วในการเปล่งเสียง (สวนิต ยมาภัย และถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์, 2547) ถ้าเรา
สงั เกตดูให้ดีจะเห็นวา่ ในชวี ติ ของเราสามารถสอื่ กบั คนอนื่ ๆ โดยแปลความหมายผา่ นน้าํ เสยี ง ในบางครง้ั
นํ้าเสียงบ่งบอกถึงลักษณะบางอย่างของคนได้อีกด้วย เช่น หากบุคคลนั้นมีความมั่นใจในตนเอง หรือใน
ข้อมูลท่ีตนก�ำลังสื่อสาร ค�ำพูดของเขาจะมีความดังชัดเจน หนักแน่น ตรงกันข้ามกับคนท่ีไม่แน่ใจตนเอง
เวลาพดู นอกจากเสียงเบาแลว้ ยังมีลกั ษณะของการพูดท่อี อ้ มแอม้ ไมเ่ ต็มเสยี งด้วย หรือคนทีม่ ีลักษณะท่ี
รสู้ กึ วา่ ตนเองเปน็ ใหญก่ วา่ หรอื มสี ถานภาพสงู กวา่ บคุ คลอนื่ กม็ กั จะมแี นวโนม้ ทจ่ี ะพดู เสยี งดงั เชน่ น้ี เปน็ ตน้
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32