Page 23 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 23

อวจั นภาษาในการสอ่ื สาร 3-13

เร่ืองท่ี 3.1.3
ปัจจัยท่ีมีผลต่ออวัจนภาษา

       การแสดงอวัจนภาษาออกมาในรูปแบบต่างๆ ของมนุษย์นั้นข้ึนอยู่กับปัจจัยด้านต่างๆ ได้แก่
ววิ ฒั นาการของระบบภาษา วฒั นธรรม การเรยี นรทู้ างสงั คม และความแตกตา่ งระหวา่ งเพศ ซง่ึ แตล่ ะปจั จยั
มีรายละเอยี ด ดังน้ี

1. 	วิวัฒนาการของระบบภาษา

       กอ่ นทมี่ นษุ ยส์ รา้ งระบบภาษาทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรมนษุ ยจ์ ะสอ่ื สารกนั ดว้ ยอวจั นภาษาเปน็ หลกั
เพอ่ื ส่อื สารความต้องการของตนเอง จนกระทง่ั มนษุ ยม์ รี ะบบวัจนภาษาเพ่อื การสื่อสารเป็นของตนเอง ซึง่
ระบบภาษาทำ� ใหก้ ารตคี วามความหมายของการสอื่ สารผดิ พลาดลดนอ้ ยลง ทำ� ใหว้ จั นภาษากลายเปน็ การ
ส่ือสารหลักของมนุษย์ อวัจนภาษาจึงมีความส�ำคัญเป็นอันดับรองลงมา แต่อย่างไรก็ดี อวัจนภาษาเป็น
สง่ิ ท่ีปรากฏออกมาอยู่ตลอดเวลาขณะส่ือสารทั้งทต่ี ้งั ใจและไมไ่ ด้ต้งั ใจ จากความคุ้นเคยและเคยชินในการ
แสดงอวัจนภาษาอย่างง่ายมาตั้งแต่เกิด ดังนั้น แม้ว่าบนโลกนี้จะมีหลากหลายกลุ่มคนชนเผ่า แต่มี
อวจั นภาษาบางอยา่ งทส่ี อ่ื ความหมายไดต้ รงกนั บนพนื้ ฐานของความเปน็ มนษุ ยเ์ หมอื นๆ กนั ขณะเดยี วกนั
วิวัฒนาการของอวัจนภาษาในแต่ละสังคมก็มีท่ีมาและความหมายแตกต่างกัน ท�ำให้การใช้อวัจนภาษา
จงึ มคี วามหมายตา่ งกันไปไดเ้ ช่นกัน

2. 	วัฒนธรรม

       เพราะอวจั นภาษาหลายๆ อยา่ งกเ็ ปน็ สากล เชน่ สหี นา้ ทา่ ทางแสดงอำ� นาจ หรอื ยอมตาม แตก่ ม็ ี
รายละเอียดที่แตกต่างไปตามวัฒนธรรม หรือแม้กระทั่งตรงข้ามกันโดยส้ินเชิงก็มี บุคคลที่เติบโตมา
ทา่ มกลางวฒั นธรรมทแี่ ตกตา่ งกนั อาจแสดงอารมณห์ รอื ความคนุ้ เคยทแ่ี ตกตา่ งกนั ได้ ตวั อยา่ ง วฒั นธรรม
ของเมดิเตอเรเนียนจะแสดงปฏิกิริยาทางอารมณ์อย่างเต็มที่ แสดงความโศกเศร้าและความสุขผ่านทาง
ใบหน้าหรือการเปิดเผยท่าทางร่างกายช่วยส่งเสริมความรู้สึกแท้จริง ในขณะท่ีวัฒนธรรมจีนและญ่ีปุ่นจะ
แสดงออกทางอารมณ์น้อย มักเน้นการควบคุมตนเอง และเก็บอารมณ์ไว้กับตัวเอง หรืออีกตัวอย่างหน่ึง
ในบางประเทศมวี ฒั นธรรมของการสมั ผสั (contact culture) หมายถงึ วฒั นธรรมทเ่ี นน้ การแสดงออกทาง
อวจั นะดว้ ยความอบอนุ่ ความใกลช้ ดิ และการเขา้ ถงึ ได้ โดยประเทศทมี่ วี ฒั นธรรมน้ี ไดแ้ ก่ ซาอดุ อิ าระเบยี
ฝรง่ั เศส และอิตาลี ในขณะเดยี วกนั บางประเทศไม่มีวฒั นธรรมดังกลา่ ว หรอื วัฒนธรรมของการไม่สมั ผัส
(noncontact culture) ซง่ึ วฒั นธรรมนใี้ หค้ ณุ คา่ กบั ความเปน็ สว่ นตวั มากกวา่ ดงั นนั้ วฒั นธรรมกลมุ่ หลงั นี้
จะหลกี เลย่ี งการแสดงออกในลกั ษณะใกลช้ ดิ มาก ประเทศทจี่ ดั อยใู่ นกลมุ่ นี้ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ประเทศสแกนดเิ นเวยี
(ไดแ้ ก่ เดนมารก์ นอรเ์ วย์ สวเี ดน และอาจรวมถงึ ฟนิ แลนด์ ไอซแ์ ลนด์ หมเู่ กาะแฟโร และหมเู่ กาะโอลนั ด)์
เยอรมนี อังกฤษ ญ่ีปุ่น และสหรฐั อเมริกา
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28