Page 21 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 21
อวัจนภาษาในการสอื่ สาร 3-11
ตารางท่ี 3.1 ความแตกต่างบางประการระหว่างวัจนภาษาและอวัจนภาษา
ประเด็นท่ีแตกต่าง วัจนภาษา อวัจนภาษา
ความซบั ซ้อน มติ ิเดยี ว (ถ้อยคำ� เท่านน้ั ) หลายมติ ิ (เสียง รา่ งกาย ทา่ ทาง
ระยะหา่ ง ฯลฯ)
การลื่นไหล ไมต่ ่อเนื่อง (การใช้ถ้อยค�ำไม่ได้ ตอ่ เนอ่ื ง (เป็นไปไมไ่ ด้ท่ีจะไมส่ อื่ สาร
เกิดขนึ้ ตลอดเวลา) ดว้ ยอวัจนภาษา)
ความชัดเจน การแปลความหมายผิดมีน้อย มีความกำ� กวมมากกว่า
ผลกระทบ น้อยกว่า มากกวา่
(ภายใตเ้ ง่อื นไขท่ีวจั นภาษาและ
อวัจนภาษาขัดแย้งกัน) โดยปกติแลว้ แสดงออกอย่างตั้งใจ บ่อยครง้ั จะแสดงออกมาโดยไมไ่ ด้
เจตนา ตงั้ ใจ
ที่มา: ดัดแปลงจาก http://marul.ffst.hr/~dhren/nastava/komunikacija/Poglavlje_5.pdf
จากตารางที่ 3.1 ซง่ึ เปรยี บเทยี บใหเ้ หน็ ความแตกตา่ งระหวา่ งวจั นภาษาและอวจั นภาษา นกั ศกึ ษา
จะพบวา่ ในมติ ขิ องความซบั ซอ้ นวจั นภาษาจะพจิ ารณาเพยี งองคป์ ระกอบเดยี ว คอื ตวั ถอ้ ยคำ� เทา่ นนั้ สว่ น
อวจั นภาษาจะพิจารณาองคป์ ระกอบหลายๆ อยา่ ง เชน่ เสยี ง รา่ งกาย ทา่ ทาง ระยะหา่ ง เปน็ ต้น ในแง่
ของการลื่นไหลของการส่ือสาร วัจนภาษามีความไม่ต่อเนื่องของการส่ือสาร ซ่ึงสืบเน่ืองมาจากความ
ซับซ้อนทก่ี ล่าวไปแล้ว นั่นคอื วจั นภาษาพิจารณาเพยี งถอ้ ยค�ำ แตใ่ นขณะส่ือสารการใชถ้ อ้ ยคำ� ไม่ได้เกิด
ขนึ้ ตลอดเวลา เชน่ อาจมจี งั หวะทต่ี วั ผสู้ ง่ สารเงยี บซึง่ อาจเกดิ ข้นึ โดยตงั้ ใจและไมไ่ ด้ต้งั ใจ ซงึ่ ท�ำใหเ้ กดิ การ
ตคี วามเชงิ อวจั นภาษาขน้ึ และในมติ ขิ องความชดั เจน วจั นภาษามคี วามชดั เจนมากกวา่ อวจั นภาษา เออ้ื ให้
เกิดการแปลความหมายผิดมีน้อยกว่า ส่วนอวัจนภาษามีความก�ำกวมมากกว่า การตีความของผู้รับสาร
อาจไมต่ รงกบั ผสู้ ง่ สาร สว่ นในมติ ขิ องผลกระทบ หากแสดงวจั นภาษาและอวจั นภาษาขดั แยง้ กนั อวจั นภาษา
จะมีผลกระทบมากกว่าวัจนภาษา และในมิติของเจตนา โดยปกติแล้ววัจนภาษาจะแสดงออกอย่างต้ังใจ
สว่ นอวัจนภาษาจะแสดงออกอย่างไม่ไดต้ ้งั ใจอย่บู ่อยคร้ัง