Page 32 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 32
3-22 ภาษาและทกั ษะเพือ่ การสื่อสาร
ภาพท่ี 3.5 อวัจนภาษาท่ีส่ือถึงการเปิดเผย (ซ้าย) และการปกปิด (ขวา)
ดงั นนั้ เราจะเหน็ วา่ รอบๆ ตวั ของเรานี้ มบี คุ ลกิ หลายอยา่ งทส่ี ามารถทำ� ใหเ้ ขา้ ใจเรอ่ื งราวทเี่ กดิ ขนึ้
ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี หากเราลองพจิ ารณาดใู หถ้ ถ่ี ว้ น จะสามารถแปลความหมายของอวจั นภาษาดา้ นน้ี และนำ� มา
ใช้ประโยชน์ในการส่ือสารได้อย่างมาก แต่ควรระลึกไว้เสมอว่า บุคลิกท่าทางต่างๆ ยอมมีความหมาย
แตกตา่ งกนั ออกไปในแตล่ ะสงั คมวฒั นธรรมดว้ ย การทส่ี งั คมหนง่ึ ยอมรบั ในทา่ ทางบางอยา่ ง อาจจะไมเ่ ปน็
ทย่ี อมรบั ในสงั คมอนื่ กไ็ ด้ การแปลความหมายของอวจั นภาษาอาจจะผดิ พลาดหากเราไมค่ ำ� นงึ ถงึ สง่ิ เหลา่ น้ี
4. ภาษาสายตา (Oculesics)
การศกึ ษาทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสอื่ สารผา่ นสายตานนั้ จะศกึ ษา 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ การสบตา การเบงิ่ ตา
การเคล่อื นไหวของดวงตา ดังน้ี
4.1 การสบตา ถอื วา่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ในการสอ่ื สารดว้ ยอวจั นภาษา ซงึ่ แตกตา่ งจากการจอ้ งมอง
โดยการสบตาเปน็ ปฏสิ มั พนั ธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เมอื่ บคุ คล 2 คนมองเขา้ ไปในดวงตาของอกี ฝา่ ยหนงึ่ สว่ นการจอ้ งมอง
สามารถเกิดได้ตลอดเวลา และไม่ได้เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การสบตามักบ่งบอกถึงความอบอุ่น
ซึ่งคนส่วนใหญ่กระท�ำเม่ือมีการสนทนาและให้ความส�ำคัญกับการสบตา การหลีกเล่ียงการสบตาถือเป็น
อวจั นภาษาในทางลบซง่ึ บางวฒั นธรรมตคี วามไดห้ ลายแบบ เชน่ การไมใ่ หเ้ กยี รตคิ สู่ นทนา การไมต่ งั้ ใจฟงั
การพยายามปกปิดความผิด หรือการแสดงอาการเขนิ อาย เป็นต้น
4.2 การเบ่ิงตา เป็นอาการที่เกิดข้ึนในช่วงท่ีมีการปฏิสัมพันธ์ของบุคคลโดยเกิดจากจิตใต้ส�ำนึก
และสง่ ผลตอ่ การดงึ ดดู ความสนใจดว้ ย การเบง่ิ ตาถอื เปน็ การแสดงความใสใ่ จและการตอบสนองตอ่ คสู่ นทนา
นอกจากน้ี ยังมคี วามหมายในเชงิ ความรกั และความเอน็ ดู
4.3 การเคล่ือนไหวของดวงตา สามารถสอ่ื ความหมายไดห้ ลายอยา่ ง โดยทศิ ทางการเคลอื่ นไหว
ของดวงตาท่ีแตกต่างกัน ส่งผลต่อความคิดท่ีแตกต่างกัน และลักษณะการเคลื่อนไหวของดวงตารูปแบบ
ต่างๆ จะมคี วามสมั พันธก์ บั ความคดิ บางอยา่ ง (ดูภาพที่ 3.6 ประกอบ)