Page 36 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 36

3-26 ภาษาและทักษะเพ่อื การสอื่ สาร
กิจกรรม 3.2.1

       องค์ประกอบของอวจั นภาษาจากบคุ คลประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
แนวตอบกิจกรรม 3.2.1

       องคป์ ระกอบของอวจั นภาษาจากบคุ คลประกอบดว้ ย การปรากฏกาย ภาษานาํ้ เสยี ง ภาษาทา่ ทาง
และบุคลกิ ภาพ ภาษาสายตา ภาษาสหี นา้ และภาษาสมั ผสั

เรื่องที่ 3.2.2
อวัจนภาษาจากบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม

       นอกจากอวัจนภาษาจากบุคคลที่กล่าวไปแล้วข้างต้น อวัจนภาษายังสามารถปรากฏผ่านส่ิงท่ีอยู่
รอบๆ ตวั บคุ คล หรอื เปน็ อวัจนภาษาจากบรรยากาศและสิง่ แวดลอ้ ม ซงึ่ ประกอบดว้ ย พ้ืนทว่ี ่างหรอื ระยะ
หา่ ง เวลา และเสยี ง โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

1. 	พื้นที่ว่างหรือระยะห่าง (Space)

       เปน็ อวจั นภาษารปู แบบหนง่ึ ทใ่ี ชบ้ ง่ บอกระดบั ความสนทิ สนมของคสู่ นทนาและระดบั ของการสอื่ สาร
โดยมนษุ ยจ์ ะสมมตอิ าณาบริเวณทต่ี นเองปลอดภัย หากมีคนแปลกหน้าหรอื ผ้ทู ไ่ี มน่ ่าไวว้ างใจรุกลำ�้ เขา้ มา
ในบริเวณดังกล่าวจะรู้สึกไม่สบายใจทันที Hall (1959, 1963, 1976 อ้างถึงใน DeVito, 2002) ได้แบ่ง
ระยะหา่ งในการสื่อสารออกเปน็ 4 ระดับ ตามระดับความสัมพันธข์ องคสู่ นทนาหรือผู้รบั สารไว้ดงั นี้

       1.1	 ระยะคุ้นเคย (Intimate Space) มีระยะตง้ั แต่ 0 ฟตุ หรอื ถึงเนื้อถงึ ตัวกันไดไ้ ปจนถึง 18 นิว้
หรอื 1.5 ฟตุ การอนญุ าตใหบ้ คุ คลอน่ื ๆ เขา้ มาในระยะนถี้ อื วา่ เปน็ สญั ญาณของความไวใ้ จ อยา่ งไรกด็ ี อาจ
มีบางสถานการณ์ท่ีจ�ำเป็นต้องให้คนแปลกหน้าเข้ามาอยู่ในระยะคุ้นเคยนี้ ได้แก่ การเข้าพบแพทย์หรือ
ทันตแพทย์ การตดั แตง่ ผมและเสรมิ ความงาม และการฝึกซอ้ มแข่งขนั กฬี า

       1.2	 ระยะส่วนบุคคล (Personal Space) มรี ะยะต้งั แต่ 1.5 ฟตุ ไปจนถงึ 4 ฟตุ ในระยะระดับนี้
จะอนุญาตให้บุคคลอื่นๆ ใกล้ชิดเราในระยะท่ีเทียบเท่ากับความยาวแขนท่ีเหยียดสุดโดยประมาณ ระยะ
สว่ นบคุ คลนส้ี ่วนใหญใ่ ช้ในการสือ่ สารระหวา่ งบุคคล

       1.3	 ระยะสังคม (Social Space) มีระยะต้งั แต่ 4 ฟุต จนถึง 12 ฟตุ ในระยะระดบั นี้จะเร่ิมสญู เสยี
การสื่อสารด้วยสายตา ในองค์กรบางแห่งใช้โต๊ะช่วยรักษาระยะสังคมในการสนทนาระหว่างพนักงานและ
ลูกค้าผูเ้ ข้ามาติดต่อทส่ี ำ� นักงานหรอื ระหว่างพนักงานในระดับที่แตกต่างกนั
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41