Page 35 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 35
อวจั นภาษาในการส่ือสาร 3-25
ภาพท่ี 3.8 การจับมือ (hand-shaking) เป็นภาษาสัมผัสของชาวตะวันตก
การสัมผัสเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกนั้นมักจะใช้ส่ือสารเพ่ือการปลอบโยน และในภาวะ
โศกเศรา้ ดว้ ยการโอบกอดหรอื การสมั ผสั มอื อยา่ งนมุ่ นวล ออ่ นโยน บง่ บอกถงึ การทะนถุ นอม การเอาใจใส่
ด้วยความเหน็ อกเหน็ ใจ แตถ่ ้าการสมั ผสั เตม็ ไปดว้ ยความรุนแรงจะมีความหมายตรงกันขา้ ม เช่น การดงึ
กระชาก การบบี การตี การทบุ การสมั ผสั เช่นนี้อาจจะเกิดจากความเกลยี ด ความไมพ่ อใจ หรอื การแสดง
อำ� นาจทเ่ี หนอื กวา่ อยา่ งไรกต็ ามการโอบกอดอยา่ งรนุ แรงอาจหมายถงึ ความรกั กไ็ ด้ การเขา้ ใจความหมาย
ของการสอื่ สารผา่ นการสมั ผสั จงึ เปน็ รปู แบบของการสอื่ สารทางอวจั นภาษาทจี่ �ำเปน็ ตอ้ งอาศยั ประสบการณ์
และการเรียนรู้อยา่ งมาก ไมเ่ ช่นนน้ั ก็อาจทำ� ใหเ้ กิดการเขา้ ใจทีผ่ ดิ พลาดได้
การสัมผสั นอกจากส่ือความหมายทางอารมณ์ ความรู้สึกแล้ว ยังส่ือสารเกี่ยวกบั วฒั นธรรมแตล่ ะ
สังคมด้วย การสัมผัสมือหรือโอบกอดที่หนักแน่นรุนแรง ใช้เวลานาน อาจหมายถึงการแสดงความจริงใจ
และการเปน็ พวกเดียวกัน การสมั ผสั อย่างแผว่ เบาหรอื ใช้เวลานอ้ ยอาจบง่ บอกถงึ ความไม่จรงิ ใจ เปน็ การ
ท�ำแบบ “ขอไปที” หรือมคี วามรังเกียจ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ ับมารยาทในสงั คมน้ันด้วย ความรนุ แรงในบางสังคม
อาจหมายถงึ ความปา่ เถอื่ น ไมใ่ หเ้ กยี รติ แตใ่ นบางสงั คมอาจจะเปน็ สงิ่ ทตี่ รงกนั ขา้ ม ดงั นนั้ จงึ มคี วามจำ� เปน็
อย่างย่ิง ที่เราต้องเรียนรู้การใช้อวัจนภาษา เรียนรู้ความหมายของอวัจนภาษา และฝึกหัดใช้ให้มี
ประสิทธิภาพ เพราะการเข้าใจความหมายของอวัจนภาษาผ่านการสัมผัสนั้น เป็นเรื่องของประสบการณ์
ของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน หากเราไม่เข้าใจและไม่มีทักษะในการใช้ ก็อาจจะก่อให้เกิดความเสียหาย
ขนึ้ ได้
กลุ่มอวัจนภาษาอีกประเภทหน่ึงคืออวัจนภาษาท่ีแสดงออกผ่านส่ือหรือวัตถุอื่นๆ แล้วช่วยเพิ่ม
ความหมายและส่งเสริมให้การส่ือสารมีความหลากหลายและสามารถช่วยสร้างการรับรู้อารมณ์ความรู้สึก
มากขน้ึ เชน่ ภาษาพน้ื ทว่ี า่ ง ภาษาวตั ถุ สง่ิ ของและเครอ่ื งแตง่ กาย และภาษาสญั ลกั ษณแ์ ละภาพประกอบ
ดังจะกลา่ วในหวั ขอ้ เร่ืองถัดไป