Page 38 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 38
3-28 ภาษาและทักษะเพือ่ การสอ่ื สาร
แต่ละอย่างต้องอาศัยเวลาท่ีเหมาะสม เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการสื่อสารให้ดีขึ้น หรือการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างกันภายใต้เวลาท่ีไม่ปกติ เช่น เสียงโทรศัพท์ดังในเวลาสองนาฬิกา ปลายทางอาจอนุมานได้ว่า
ผู้ติดตอ่ อาจมเี ร่อื งส�ำคัญเร่งด่วน เป็นตน้
เวลาสว่ นตวั ของแตล่ ะบคุ คลไดถ้ กู กำ� หนดเพอื่ ใหย้ ดึ ถอื และปฏบิ ตั ติ าม และเมอื่ ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามนานๆ
เขา้ จนกลายเปน็ ลกั ษณะนสิ ยั แลว้ เวลากอ็ าจกลายเปน็ ตวั กำ� หนดพฤตกิ รรมหรอื ความรสู้ กึ นกึ คดิ ของมนษุ ยไ์ ด้
หากจะต้องเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมบางอย่างอาจต้องอาศยั เวลาซักระยะเพ่ือใหก้ ิจวัตรตา่ งๆ เขา้ ทเ่ี ขา้ ทาง
ซึ่งเหน็ ได้จากการเดนิ ทางข้ามประเทศหรอื ข้ามทวีปท่ีเวลาทอ้ งถิน่ ต่างกันมากๆ
3. เสียง (Sound)
ในบางคร้ังเสียงที่อยู่ในสภาพแวดล้อมสามารถใช้เพื่อส่ือความหมายได้ เวลาที่เราไปร้านกาแฟ
เพลงที่ใช้ในร้านกาแฟอาจสะทอ้ นถงึ ระดับของลูกค้าผบู้ ริโภคตราสนิ ค้าผา่ นกาแฟของรา้ น แม้กระทง่ั การ
สะท้อนวิถชี วี ิตของผคู้ นท่เี ข้ามาใชบ้ ริการรา้ นกาแฟนั้น เช่น รา้ นกาแฟสมยั เก่าจะเปดิ วิทยเุ พอื่ ฟงั ขา่ วสาร
ส่วนร้านกาแฟสมัยใหม่จะเปิดเพลงบรรเลงสบายๆ เป็นต้น นอกจากนี้เสียงอาจมีผลต่ออารมณ์และ
ความรสู้ กึ ของผไู้ ดย้ นิ ในมติ ทิ แี่ ตกตา่ งกนั ผา่ นองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของเสยี งทผี่ ไู้ ดย้ นิ ทว่ั ไปสามารถรบั รไู้ ด้
และแปลความหมายได้ Sonnenschein (2001 อา้ งถงึ ใน นฤชติ เฮงวฒั นอาภา, 2559) ระบวุ า่ องคป์ ระกอบ
ของเสียงที่เป็นลักษณะพ้ืนฐานของเสียง ประกอบด้วย ระดับเสียง เนื้อเสียง รูปร่างของเสียง ความดัง
จงั หวะ อตั ราจงั หวะเสยี ง และความเปน็ ระบบของเสยี ง โดยรายละเอยี ดทสี่ มั พนั ธก์ บั ผไู้ ดย้ นิ ทว่ั ๆ ไป และ
สภาพแวดลอ้ ม มีดังน้ี
3.1 ระดับเสียง (Pitch) เปน็ ตวั กำ� หนดวา่ เสยี งนน้ั เปน็ เสยี งสงู หรอื เสยี งตาํ่ โดยองคป์ ระกอบของ
เสียงประเภทน้ีมักใช้ในการกระตุ้นอารมณ์และความรู้สึกของผู้ได้ยิน โดยเสียงในย่านความถี่สูงมักท�ำให้
เกิดความตื่นตระหนกตกใจ ส่วนเสียงในยา่ นความถ่ีตํา่ มักทำ� ใหเ้ กิดความสะพรึงกลวั เปน็ ต้น
3.2 เนื้อเสียง (Timbre) คอื คณุ ภาพของเสยี ง ทำ� ใหเ้ สยี งตา่ งๆ มลี กั ษณะเฉพาะ ขน้ึ อยกู่ บั แหลง่
กำ� เนดิ เสียงหรอื วธิ ีทำ� ให้เกดิ เสียง เชน่ เมอ่ื เราเขา้ ไปอยู่ในเขตก่อสรา้ ง เราจะรไู้ ดว้ า่ เสียงใดเป็นเสยี งของ
เครอื่ งผสมปนู ซเี มนต์ เสยี งใดเปน็ เสยี งของเครอื่ งตดั เหลก็ หรอื หากเราอยใู่ นหอ้ งนอนของเรา เราอาจไดย้ นิ
ท้ังเสียงเครื่องปรบั อากาศทำ� งานและเสียงฝนตก แต่เราแยกแยะไดว้ ่าแหลง่ กำ� เนิดเสยี งอยู่ท่ใี ด เปน็ ตน้
3.3 ความดงั (Loudness) ขน้ึ อยกู่ บั ความเขม้ (intensity) ของตวั เรา้ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ เสยี ง ซงึ่ มหี นว่ ยวดั
เป็นเดซิเบล (Decibel: dB) โดยความดังที่ไม่เหมาะสมจะท�ำใหผ้ ฟู้ งั รู้สกึ รำ� คาญ และอาจส่งผลระยะยาว
ตอ่ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ได้ ความดงั ในระดบั ตา่ งๆ สามารถบง่ บอกถงึ สภาพแวดลอ้ มทอ่ี ยู่ ณ ขณะนน้ั
เชน่ เสียงเบาท่ีสุดท่ไี ดย้ นิ (0 เดซิเบล) เสยี งการจราจรในเมอื ง (85 เดซเิ บล) เสียงเคร่ืองตอกหมุดเหลก็
(125 เดซิเบล) เปน็ ต้น
3.4 จังหวะ (Rhythm) เปน็ ลักษณะของเสียงที่เริม่ จากความเงยี บไปจนถงึ จดุ ที่ดังทส่ี ดุ และกลบั
ไปเปน็ ความเงยี บอกี ครงั้ ตวั อยา่ งของเสยี งทเ่ี ปน็ จงั หวะ เชน่ เสยี งการเดนิ สวนสนามของเหลา่ ทหาร หรอื
เสยี งของหอ้ งซอ้ มดนตรหี รอื ซอ้ มเตน้ ทตี่ อ้ งอาศยั เครอื่ งเคาะจงั หวะ (metronome) สว่ นตวั อยา่ งของเสยี ง
ท่ไี มเ่ ป็นจงั หวะ เช่น เสียงสนทนา เป็นต้น