Page 37 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 37

อวจั นภาษาในการสอื่ สาร 3-27
       1.4	 ระยะสาธารณะ (Public Space) มรี ะยะตัง้ แต่ 12 ฟุตเป็นต้นไป ในระยะระดับน้ี นอกจาก
สูญเสยี การสือ่ สารดว้ ยสายตาแลว้ ยังสูญเสียการสอ่ื ความหมายผ่านทางสีหน้าอีกดว้ ย ระยะใกล้ท่ีสดุ ของ
ระยะประเภทนีเ้ ทียบเท่าไดก้ บั ระยะห่างขณะดำ� เนนิ การเรียนการสอนในช้นั เรียน

                  ภาพท่ี 3.9 ระยะห่างระหว่างคู่ส่ือสารในระดับความสัมพันธ์ต่าง ๆ

ท่ีมา: 	ดัดแปลงจาก Grall, 2014.

       นอกจากระยะหา่ งระหวา่ งกนั ของแตล่ ะบคุ คลแลว้ การจดั หอ้ งหรอื สง่ิ ของเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ กเ็ ปน็ การ
สื่อความหมายในด้านการส่ือสารเช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นขนาดห้องใหญ่หรือเล็ก การจัดวางอย่างเป็น
ระเบยี บหรือระเกะระกะ ระยะของความสงู หรอื ตํา่ เปน็ ตน้

2. 	เวลา (Time)

       ส่วนใหญ่นั้น เราใช้เวลาสอ่ื สารถงึ “ความสมั พันธ”์ “ความสำ� คญั ” และ “ความเหมาะสม” เหน็
ไดจ้ ากการ “ตรงเวลา” เป็นเร่อื งทมี่ คี วามสำ� คัญหรือไม่ ขน้ึ อยกู่ ับว่าเราเป็นใคร มีนัดกับใครหรอื ใครเปน็
คนนัด และลักษณะการใช้เวลาของแต่ละวัฒนธรรมย่อมแสดงออกถึงการส่ือสารแบบอวัจนภาษาของ
วฒั นธรรมนน้ั ๆ ด้วย ตวั อย่างในประเทศเกาหลใี ต้และญี่ปนุ่ การตรงต่อเวลาเป็นเร่ืองทีส่ ำ� คญั มาก การไม่
ตรงต่อเวลาอาจส่ือความหมายถึงการไม่เคารพคู่เจรจา ส่วนประเทศมาเลเซีย จีน เม็กซิโก ยังมีความ
ยดื หยนุ่ กวา่ ประเทศจนี และญปี่ นุ่ คอื อนโุ ลมใหม้ าสายไดไ้ มเ่ กนิ กน่ี าที ขน้ึ อยกู่ บั มารยาทของแตล่ ะประเทศ
และในบางประเทศ อาจมคี วามยืดหยุ่นในเร่ืองของเวลามากกว่าประเทศทกี่ ลา่ วไปแลว้ ข้างตน้ หรอื ไม่ให้
ความสำ� คญั ในเรอ่ื งของเวลาเลย ซงึ่ ในบางวฒั นธรรม เวลายงั สะทอ้ นผา่ นโครงสรา้ งไวยากรณข์ องวจั นภาษา
ในบางภาษามีค�ำซึ่งระบุช่วงเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต อย่างชัดเจน นอกจากน้ี การจัดกิจกรรม
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42