Page 17 - ท้าวมหาชมพู
P. 17

ท้าวมหาชมพู (15)

      เมื่อประมวลความคล้ายคลึงของเนื้อเร่ืองของชมพูบดี
สตู รกับพระสูตรของมองโกเลยี น (The Sutra of The Wise the
Foolish) และเรื่อง The Buddha Subdued King of Suvanna-
bhumi น่าจะเช่ือได้ว่าชมพูบดีสูตรก็มีท่ีมาจากพระสูตรของ
มองโกเลียนน้ี และการแพร่กระจายของพระสูตรเข้ามาใน
ดินแดนของประเทศไทยก็คงไม่เป็นเร่ืองท่ีแปลกนัก เพราะใน
อาณาจกั รลา้ นนาประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐, ๒๑ มหี ลกั ฐานวา่
พระภกิ ษทุ เิ บตกเ็ คยเดินทางมาพำนกั ณ หริปญุ ไชย หรือลำพนู
ในปัจจุบัน๘ อนึ่งก็เป็นที่ยอมรับในหมู่นักวิชาการของไทยว่า
พระพุทธศาสนาลัทธิมหายานก็ได้เคยมีบทบาทสูงในดินแดน
แห่งน้ี๙

      ในทรรศนะของผเู้ ขยี น เรอ่ื งชมพบู ดสี ตู รคงไดแ้ ตง่ ในชว่ ง
อยธุ ยาหรอื อาจจะกอ่ นหนา้ นข้ี น้ึ ไปกไ็ ด้ เพราะในสมยั พระเจา้ อยหู่ วั
บรมโกศแหง่ อยธุ ยา พระสตู รนกี้ เ็ ปน็ ทรี่ จู้ กั แพรห่ ลายแลว้ การแพร่
กระจายของพระสูตรนี้จะมีอิทธิพลต่อการสร้างพระพุทธรูปปาง
ทรงเคร่ือง (จักรพรรดิ) หรือจะแต่งในสมัยหลังจากการสร้าง
พระพทุ ธรปู ตามพระมตขิ องสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ
กเ็ ปน็ เรอ่ื งทตี่ อ้ งศกึ ษากนั ตอ่ ไป และตอ้ งใชค้ วามรู้ในหลายๆ ดา้ น
พิจารณา

        ๘  	สัมภาษณ์ Dr.  Peter Skilling
        ๙  แสง มนวิทูร    “ความเป็นมาเก่ียวกับพุทธศาสนาในล้านนาไทย”

รวมบทความของศาสตราจารย์ ร.ต.ท. แสง มนวทิ รู (กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พพ์ ฆิ เณศ,
๒๕๑๗)
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22