Page 13 - บันทึกรายวันของ เซอร์ จอห์น เบาริ่ง และสนธิสัญญาเบาริ่ง
P. 13

บนั ทึกรายวัน ของ เซอร์ จอหน์ เบาริง
                                                                             และสนธิสัญญาเบาริง

                   บทน�ำ

     ในสมัยรัตนโกสินทร์อังกฤษเป็นประเทศตะวันตกชาติแรกท่ีลง
นามท�ำ สนธิสัญญาทางพระราชไมตรแี ละการพาณชิ ยก์ ับประเทศไทยใน
รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั สนธสิ ญั ญาฉบบั ดงั กลา่ ว
รู้จักกันในนาม สนธิสัญญาเบอร์นีย์ อันท่ีจริงก่อนหน้าน้ันอังกฤษก็ได้
เพยี รพยายามเข้ามาเจรจาท�ำ ความตกลงกับไทยทง้ั ในดา้ นการเมืองและ
การค้า ในต้นรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
(พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๕๒) องั กฤษไดเ้ รม่ิ เขา้ มามบี ทบาททางแหลมมลายู
ใน พ.ศ. ๒๓๒๙ องั กฤษได้ขอเชา่ ปนี งั หรือเกาะหมากจากไทรบุรี และ
ใน พ.ศ. ๒๓๓๔ ไดข้ อเชา่ ดนิ แดนทอ่ี ยตู่ รงขา้ มกบั ปนี งั เพมิ่ เตมิ ขณะนน้ั
ไทรบรุ มี ฐี านะเปน็ หวั เมอื งมลายทู เี่ ปน็ ประเทศราชของไทย แตไ่ ทยมไิ ด้
ทกั ทว้ งการกระทำ�ของไทรบรุ ี เพราะยังมกี ารศึกสงครามตดิ พนั กบั พมา่

     ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พ.ศ.
๒๓๕๒ – ๒๓๖๗) องั กฤษไดข้ อเชา่ สงิ คโปรจ์ ากยะโฮรใ์ น พ.ศ. ๒๓๖๒
การท่ีอังกฤษได้ครองจุดยุทธศาสตร์ท้ังปีนังและสิงคโปร์แสดงให้เห็น
การรุกคืบของอังกฤษท้ังทางด้านการเมืองและการค้าในแหลมมลายู
ในขณะเดียวกันอังกฤษก็พยายามจะสกัดการขยายอำ�นาจของไทยลง
สแู่ หลมมลายู ดงั นน้ั ในปลายปี พ.ศ. ๒๓๖๔ มาควสิ เฮสตงิ ส์ ผสู้ �ำ เรจ็
ราชการอังกฤษท่ีอนิ เดียจึงได้แตง่ ตั้ง จอห์น ครอว์เฟิด เป็นทูตเขา้ มา
เจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั ไทยในปลายรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ -
หลา้ นภาลยั แตก่ ารเจรจาไมป่ ระสบผล ในทางการเมอื ง ไทยไมย่ อมรบั
การทอ่ี งั กฤษเขา้ เจรจาเพอื่ ขอเมอื งคนื ใหแ้ กเ่ จา้ พระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั )
เพราะไทยถือว่าไทรบุรีเป็นเมืองประเทศราชของไทยในขณะนั้น ท่าที

                                1
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18