Page 140 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 140

7-30 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

                 2) 	ทฤษฎี​การ​ปรึกษา​ครอบครัว​ที่​จะ​นำ​มา​พัฒนา​ความ​เข้ม​แข็ง​ของ​ครอบครัว ได้แก่
ทฤษฎี​การ​ปรึกษาค​ รอบครัว​แบบ​ประสบการณ์นิยม แบบโ​ครงสร้าง แบบก​ ารเ​ชื่อม​โยงร​ ะหว่างร​ ุ่น และแ​ บบ​
พฤติกรรมแ​ ละ​การ​รู้คิด-พฤติกรรม

                 3) 	ระยะเ​วลาใ​นก​ ารใ​หก้ ารป​ รกึ ษาค​ รอบครวั ส​ ามารถใ​ชเ​้ วลาอ​ ยา่ งน​ อ้ ย 7 สปั ดาห์ สปั ดาห​์
ละ 1 ครั้ง ครั้ง​ละ 1.30-2.00 ชั่วโมง

            สำหรับ​โปรแกรม​การ​ปรึกษาค​ รอบครัว​เพื่อ​พัฒนา​ความ​เข้ม​แข็ง​ของ​ครอบครัว มี​ดังนี้
       ครั้งท​ ี่ 1	 เรื่อง ปฐมนิเทศ​และ​การ​ศึกษาส​ ัมพันธภาพ​ระหว่างส​ มาชิก​ครอบครัว

            วัตถปุ ระสงค์
                 1. 	เพื่อส​ ร้างส​ ัมพันธภาพร​ ะหว่างผ​ ู้​ให้การป​ รึกษา​กับ​สมาชิก​ครอบครัว
                 2. 	เพื่อ​ให้​สมาชิก​ครอบครัว​ทราบ​วัตถุประสงค์​ของ​การ​ให้การ​ปรึกษา​ครอบครัว และ​

ประโยชน์​ที่​สมาชิก​ครอบครัว​จะ​ได้​รับ​จาก​การ​เข้า​ร่วม​การ​ให้การ​ปรึกษา​ครอบครัว และ​ศึกษา​สัมพันธภาพ​
ระหว่าง​สมาชิก​ครอบครัว

            วิธีด​ ำเนินก​ าร
                 1. 	ผู้​ให้การ​ปรึกษา​กล่าว​ทักทาย​สมาชิก​ครอบครัว​ทุก​คน​และ​แนะนำ​ตนเอง เพื่อ​สร้าง​

ความ​คุ้นเ​คย
                 2. 	ผูใ​้ ห้การป​ รกึ ษาช​ ีแ้ จงว​ ัตถุประสงคข์​ องก​ ารเ​ขา้ ร​ ่วมก​ ารใ​หก้ ารป​ รึกษา จำนวนค​ รัง้ แ​ ละ​

ระยะ​เวลา สถาน​ที่ และป​ ระโยชน์​ที่ส​ มาชิก​ครอบครัวจ​ ะ​ได้​รับ
                 3.	ผู้​ให้การ​ปรึกษา​ใช้​เทคนิค​การ​ปั้น (Sculpture) ของ​ทฤษฎี​ประสบการณ์นิยม เพื่อ​

พัฒนาส​ ัมพันธภาพร​ ะหว่าง​สมาชิก​ครอบครัว โดยแ​ จกด​ ิน​น้ำมัน​ให้ส​ มาชิก​ทุกค​ นแ​ ละ​ผู้​ให้การป​ รึกษาพ​ ูดก​ ับ​
สมาชิกค​ รอบครัวว​ ่า “ขอใ​หป้​ ั้นส​ มาชิกท​ ุกค​ นในค​ รอบครัว รวมท​ ั้งต​ ัวท​ ่านด​ ้วย และป​ ั้นด​ ้วยว​ ่า แต่ละค​ นก​ ำลัง​
ทำ​อะไร”

                 เมื่อ​ผู้รับ​บริการ​ซึ่ง​เป็น​สมาชิก​ครอบครัว​ปั้น​เสร็จ ผู้​ให้การ​ปรึกษา​จะ​ให้​ผู้รับ​บริการ​เล่า​
เกี่ยวก​ ับร​ ูปท​ ี่ป​ ั้น แล้วผ​ ู้ใ​ห้การป​ รึกษาจ​ ะพ​ ิจารณาภ​ าพท​ ี่ป​ ั้น โดยด​ ูจ​ ากล​ ักษณะข​ องร​ ูปท​ ี่ป​ ั้น ระยะห​ ่างร​ ะหว่าง​
สมาชกิ สหี นา้ ทา่ ทาง สายตา และ​กจิ กรรมท​ แี​่ สดงออก ซึง่ จ​ ะบ​ ง่ บ​ อกถ​ งึ อ​ ารมณ์ ความร​ ูส้ กึ ท​ สี​่ มาชกิ แ​ ตล่ ะค​ นม​ ​ี
ต่อ​ตนเองแ​ ละ​สมาชิก​คนอ​ ื่นๆ สัมพันธภาพร​ ะหว่าง​สมาชิก​ครอบครัว ความผ​ ูกพัน ใกล้ช​ ิด​หรือ​ห่างเ​หินก​ ัน

                4. 	ผู้​ให้การ​ปรึกษา​ให้​สมาชิก​ครอบครัว​สรุป​ถึง​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​สมาชิก​และ​หาก​
มี​ปัญหา​ด้าน​สัมพันธภาพ ก็​ให้​สมาชิก​นำ​เสนอ​แนวทาง​แก้ไข รวม​ทั้ง​ผู้​ให้การ​ปรึกษา​สรุป​และ​เสนอ​แนวทาง​
ใน​การ​สร้าง​สัมพันธภาพ​เพิ่ม​เติม เช่น หาก​มี​ปัญหา​ประการ​ใด ก็​ขอ​ให้​สมาชิก​ครอบครัว​ได้​พูด​คุย​กัน
แลกเ​ปลี่ยนค​ วาม​คิด​เห็น และ​แนวทางก​ าร​แก้ป​ ัญหา

       ครั้งท​ ี่ 2-3 เรื่อง การ​สื่อสารร​ ะหว่าง​สมาชิก​ครอบครัว
            วตั ถุประสงค์
                 เพื่อใ​ห้ส​ มาชิก​ครอบครัว​สามารถ​สื่อสาร​กัน​ได้​อย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพ

                           ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145