Page 138 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 138
7-28 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
3. การป ระยุกตใ์ ช้โปรแกรมก ารปรึกษาครอบครัว
3.1 โปรแกรมการปรึกษาครอบครัว เป็นเครื่องมือที่จะช่วยเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
ครอบครัว ช่วยให้สมาชิกครอบครัวม ีค วามเข้าใจตนเองแ ละสมาชิกในครอบครัว รับผิดชอบในบทบาทแ ละ
หนา้ ทขี่ องต นเอง เรยี นร ทู้ จี่ ะเอาใจใสแ่ ละเอือ้ อ าทรก นั เคารพก นั แ ละก นั มคี วามไวว้ างใจก นั แ ละก นั ใหก้ ำลงั ใจ
กันแ ละก ัน พรอ้ มท ีจ่ ะใหอ้ ภัยก ันแ ละก ัน รู้จกั ส ื่อสารในค รอบครัว ใชเ้วลาด ้วยก ันอ ย่างม คี ุณค่าแ ละม คี ุณภาพ
ให้ค วามร ักแ ละม ีค วามใกล้ช ิดผ ูกพันก ัน และส ามารถป รับต ัวได้อ ย่างเหมาะส มต ามภ าวะท ี่เปลี่ยนแปลงข อง
บุคคลในครอบครัว ทั้งนี้ เพื่อให้ครอบครัวอยู่ร ่วมกันได้อย่างมีความสุข
3.2 การประยุกต์ใช้โปรแกรมการปรึกษาครอบครัว เนื่องจากทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวมีหลาย
ทฤษฎี แต่ละท ฤษฎีต ่างมีเป้าหมายและเทคนิควิธีที่แ ตกต่างก ัน ทุกๆ ทฤษฎีต่างม ุ่งเน้นให้ส มาชิกครอบครัว
ประสบกับความเจริญงอกงาม เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปในทิศทางบวก ดังนั้น การประยุกต์ใช้โปรแกรม
การป รึกษาค รอบครัว จึงมุ่งเน้นท ี่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในค รอบครัวแ ละพ ัฒนาชีวิตข องสมาชิกแ ต่ละค น
เพื่อให้ค รอบครัวเกิดก ารเปลี่ยนแปลงในท ิศทางที่พึงป ระสงค์ เช่น
1) การช ่วยให้ส มาชิกค รอบครัวได้ป รับเปลี่ยนค วามค ิด ความรู้สึกเกี่ยวก ับเรื่องร าวในอ ดีตท ี่
ยังคงฝ ังใจในจ ิตไร้สำนึกโดยใช้โปรแกรมก ารป รึกษาครอบครัวแบบพ ลวัตทางจ ิต
2) การเสริมส รา้ งค วามผ กู พนั ร ะหว่างส มาชิกค รอบครัวโดยใชโ้ปรแกรมก ารป รกึ ษาค รอบครวั
แบบเชื่อมโยงระหว่างร ุ่น
3) การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกครอบครัวโดยใช้โปรแกรมการปรึกษาครอบครัว
แบบป ระสบการณ์นิยม
4) การแก้ไขป ัญหาข องส มาชิกครอบครัวโดยใช้โปรแกรมก ารป รึกษาค รอบครัวแบบก ลยุทธ์
5) การให้การดูแลผ ู้ป ่วยที่เป็นสมาชิกค รอบครัว โดยใช้โปรแกรมการปรึกษาค รอบครัวแบบ
การศ ึกษาเชิงจ ิตวิทยา
3.3 ตวั อย่างก ารประยกุ ตใ์ช้โปรแกรมก ารปรึกษาครอบครวั มีสาระสำคัญ ดังนี้
3.3.1 ชื่อเรื่อง: การพ ัฒนาค วามเข้มแ ข็งข องค รอบครัวโดยใชโ้ปรแกรมก ารป รึกษาค รอบครัว
3.3.2 ความเป็นมาและค วามสำคัญข องปัญหา
ครอบครัวเป็นสถาบันทางสังคมที่ต้องได้รับการพัฒนาให้เป็นครอบครัวที่มีคุณภาพ
หากสมาชิกครอบครัวมีการปฏิบัติต่อกันตามบทบาทและหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบครอบครัวย่อม
เขม้ แ ขง็ ม ัน่ คง สง่ ผ ลใหป้ ระเทศช าตมิ ัน่ คงไปด ว้ ย นอกจากน ี้ สมาชกิ ข องค รอบครวั ต า่ งป รารถนาใหค้ รอบครวั
ของตนมีความสุข ไม่ทะเลาะกัน เข้าใจกัน ไว้วางใจกัน ดูแลเอาใจใส่กัน รักกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปัน
เสียสละ ใส่ใจในปัญหาของกันและกัน รับฟังกัน มีเหตุผล รู้จักให้อภัย และให้กำลังใจกัน เคารพซึ่งกัน
และกนั ไมส่ รา้ งป ญั หา มกี จิ กรรมร ว่ มก นั คดิ ร ว่ มก นั สามคั คกี นั รูจ้ กั ห นา้ ทแี่ ละค วามร บั ผ ดิ ช อบ มเี วลาใหก้ นั
และกนั มคี ุณธรรมแ ละห ลักธ รรมป ระจำใจ รวมท ั้งม สี มั พันธภาพท ีด่ ตี ่อก นั และห ากค รอบครวั ม คี ุณลักษณะ
ด ังก ล่าว ก็จะท ำให้ค รอบครัวม ีความอ บอุ่น มีความเข้มแข็ง และมีความส ุข
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช