Page 70 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 70
3-6 องค์การและการจัดการ และก ารจ ัดการทรัพยากรมนุษย์
เรอ่ื งที่ 3.1.1
ความส ำคัญแ ละค วามหมายของการวางแผน
การดำเนินการของธุรกิจในปัจจุบันส ิ่งท ี่นักบริหารท ุกค นจะต ้องเผชิญอ ย่างหลีกห นีไม่พ้นก ็ค ือ การเปลี่ยน-
แปลงของสภาวะแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมจากภายนอกองค์การของยุค
โลกาภ ิวัตน ์ ซึ่งมีล ักษณะแ ตกต่างจากอ ดีตอ ย่างมาก กล่าวคือมีลักษณะข องก ารเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว ก้าวก ระโดด
และมีผลกระทบอย่างร ุนแรงต ่อธ ุรกิจ จึงม ีค วามจำเป็นที่ธ ุรกิจต้องให้ค วามส ำคัญและป รับต ัวให้ก ้าวต ามท ันตัวอย่าง
ของก ระแสโลกาภ ิวัตน์ที่เห็นได้ช ัดคือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีด้านสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีด้านข้อมูล
การแข่งขันซึ่งเกิดจากการลงทุนจากภายนอกประเทศ การปรับแก้กฎหมายเพื่อเปิดทางสู่ระบบการค้าเสรี และการ
เปลี่ยนแปลงของกระแสความต้องการของลูกค้าซึ่งต้องการได้รับคุณค่าเพิ่มขึ้น ราคาที่ลดลงและมีความภักดีต่อ
ตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์น้อยลง เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมอาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากสาเหตุภายนอก
และภายในองค์การ นำมาซึ่งความเสี่ยงและความไม่แน่นอนให้กับองค์การ สาเหตุการเปลี่ยนแปลงจากภายในนั้น
เกิดข ึ้นจ ากก ารท ี่อ งค์การเป็นผ ู้ก ่อให้เกิดข ึ้นเอง เช่น การเปลี่ยนแปลงเป้าห มายแ ละก ลยุทธ์ข องอ งค์การใหม่ การผ ลิต
สินค้าใหม่ออกสู่ตลาด การปรับกระบวนการผลิตและการปรับปรุงโครงสร้างของงานหรือโครงสร้างของการบริหาร
เป็นต้น ส่วนก ารเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจ ากภ ายนอก เป็นการเปลี่ยนแปลงของส ภาวะแวดล้อมภายนอกอ งค์การ เช่น
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวก ับเทคโนโลยขี องเครื่องค อมพิวเตอร์ เทคโนโลยดี ้านข ้อมูล และอ ินเทอร์เน็ต (internet) ความร ู้
และเทคนิคใหม่ๆ เกี่ยวกับการจัดการที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์แข่งขัน การเรียกร้องซึ่งสิทธิและ
ความเสมอภาคในสังคม การเพิ่มขึ้นของกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติต่างๆ ซึ่งรัฐบาลได้ออกมาบังคับใช้เพื่อเอื้อให้เกิด
การค้าเสรี และก ารเปลี่ยนแปลงท ี่เป็นผลมาจากความก ้าวหน้าข องวิทยาการต ่างๆ ด้านค อมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทั้งสองลักษณะดังกล่าวมักจะเกิดขึ้นในสังคมอยู่ตลอดเวลาและอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะ
สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงป ัจจุบันของย ุคโลกาภิวัตน์ มีล ักษณะที่เคลื่อนไหว และเปลี่ยนแปลง (dynamic) อยู่ต ลอด
เวลาและในหลายด้านเป็นแบบก้าวกระโดดมากกว่าที่จะอยู่คงที่ (static) ในก ารเปลี่ยนที่เกิดขึ้นนี้การเปลี่ยนแปลง
บางอย่างนักบริหารพอที่จะคาดการณ์และทำการควบคุมได้ เช่น การเปลี่ยนแปลงจากภายในองค์การเอง เป็นต้น
แต่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากภายนอกมักจะอยู่นอกเหนือการคาดคะเนหรือการควบคุมของนักบริหารเสมอ อีก
ประการหนึ่งเป็นท ี่ย อมรับกันดีว ่า องค์การไม่ส ามารถที่จ ะป รับตัวให้เข้าก ับการเปลี่ยนแปลงท ั้งภ ายในและภายนอกน ี้
ไดโ้ดยอ ัตโนมัติ ดังน ั้น จึงม คี วามจ ำเป็นท ีจ่ ะต ้องจ ัดหาเครื่องม ือเพื่อช ่วยในก ารต รวจส อบแ ละต ิดตามส ภาวะแ วดล้อม
ต่างๆ ที่เปลี่ยนไป และในขณะเดียวกันก็สามารถทำการปรับปรุงโครงสร้างขององค์การเพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะ
แวดล้อมท ี่เปลี่ยนไปด้วย ซึ่งเครื่องม ือท ี่นักบ ริหารนำม าใช้ได้ดังก ล่าวก ็คือ การวางแผน (planning)
ความสำคัญของการวางแผนนอกจากที่สามารถกล่าวถึงในลักษณะที่เป็นเครื่องมือช่วยในการปรับตัวให้
เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้ดังกล่าวแล้ว หากจ ะพิจารณาก ารวางแผนเปรียบเทียบกับหน้าท ี่อื่นๆ ในก ระบวนการข อง
ก ารจ ัดการก ็จะพ บว ่าม ีค วามส ำคัญเช่นก ัน เพราะเมื่อพ ิจารณาค ำจ ำกัดค วามข องก ระบวนการก ารจ ัดการท ี่นักว ิชาการ
ด้านบริหารได้เสนอ จะเห็นได้ว่าหน้าที่ต่างๆ ในกระบวนการของการจัดการ ซึ่งถือเป็นหน้าที่ที่นักบริหารหรือนักการ
จัดการท ุกค นจ ะต ้องป ฏิบัตนิ ั้น นักว ิชาการด ้านบ ริหารส ่วนม ากล ้วนใหค้ วามส ำคัญก ับห น้าทีท่ ีเ่กี่ยวข้องก ับก ารว างแผน
โดยได้จัดการว างแผนไว้เป็นหน้าที่ท ี่จ ะต ้องป ฏิบัติจ ัดท ำก่อนหน้าท ี่อ ื่นๆ ทั้งส ิ้น เช่น
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช