Page 9 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 9

ทฤษฎีอ​ งค์การแ​ ละก​ าร​จัดการ 2-7

                         ความ​นำ

       	
       ในอ​ ดีตก​ ารจ​ ัดการส​ ่วนใ​หญ่จ​ ะป​ รากฏใ​ห้เ​ห็นใ​นอ​ งค์การข​ องร​ ัฐก​ องทัพ องค์การ ศาสนา ในอ​ งค์การข​ องก​ ลุ่ม​
ชนเ​ชือ้ ช​ าตต​ิ า่ งๆ และใ​นค​ รวั เ​รอื น ตวั อยา่ ง การจ​ ดั การท​ พี​่ บใ​นอ​ งคก์ ารข​ องกองท​ พั เชน่ กษตั รยิ อ​์ เ​ลก็ ซ​ านเ​ดอร​์ จอมทพั ​
ของ​ฝรั่งเศส (Alexander the Great) ได้​ใช้​ประโยชน์​จาก​หน่วย​ที่​ปรึกษา (staff organization) อย่าง​มาก​ใน​ช่วง​
ระหว่าง​การนำ​ทัพอ​ อก​รบ​ใน​ปี 336 ถึง 323 BC (ก่อน​คริสตกาล) และ/​หรือ​องค์การศ​ าสนาจ​ ะ​มี​การจ​ ัดข​ ั้น​บรรดาศักดิ์​
ของพ​ ระเ​ปน็ ข​ ัน้ แ​ ละส​ ายก​ ารบ​ งั คบั บ​ ญั ชา หลงั จ​ ากก​ ารป​ ฏวิ ตั อ​ิ ตุ สาหกรรมใ​นช​ ว่ งก​ ลางค​ รสิ ตศ​์ กั ราช 1700 จงึ ไ​ดม​้ ก​ี ารนำ​
การจ​ ัดการใ​น​ภาคร​ ัฐ​มา​ปรับแ​ ต่งใ​ห้ท​ ันส​ มัย เพื่อใ​ช้ก​ ับอ​ งค์การ​ภาค​ธุรกิจ​เอกชน​ในร​ ะบบ​ของก​ าร​ผลิต​แบบ​โรงงาน ใน​
ชว่ งข​ องย​ ุคก​ ารป​ ฏิวัตอิ​ ุตสาหกรรมน​ ี้ จงึ ม​ น​ี ักค​ ดิ ซ​ ึง่ ไ​ดน้​ ำเ​สนอแ​ นวคิดต​ ่างๆ เพือ่ ใ​ชเ​้ ปน็ แ​ นวทางใ​นก​ ารจ​ ดั การข​ องร​ ะบบ​
การ​ผลิต​ในโ​รงงานอ​ ุตสาหกรรม ที่ส​ มควร​กล่าว​ถึง คือ
       1. ผลง​ านข​ องโ​รเ​บริ ต์ ​โอเ​วน (1771-1858) โรเ​บริ ต์ โอเ​วน (Robert Owen) เปน็ ผ​ บู​้ กุ เบกิ แ​ ละน​ ำเ​สนอใ​หท​้ ำการ​
ปรับปรุง​ระบบ​การ​จัดการ​เกี่ยว​กับ​ทรัพยากร​มนุษย์​ใน​โรงงาน โดย​เสนอ​ให้​ทำการ​ปรับ​แก้​กฎหมาย​ที่​จะ​จำกัด​ชั่วโมง​
ทำงานข​ องแ​ รงงานเ​ด็กแ​ ละก​ ารใ​ชป​้ ระโยชนข​์ องแ​ รงงานเ​ด็ก นอกจากน​ ีโ้​อเ​วนย​ งั เ​ป็นผ​ ูเ​้ สนอใ​หใ้​ชร้​ ะบบ silent monitor
(การ​ตรวจ​สอบ​แบบ​เงียบ) ใน​การ​เพิ่ม​ผลผลิต การ​ตรวจ​สอบ​ตาม​ระบบ​ตรวจ​สอบ​แบบ​เงียบ​ของ​โอ​เวน จะ​ใช้​แท่ง​ไม้​
สี่เหลี่ยมท​ าสีแ​ ตกต​ ่างก​ ัน 4 สี แต่ละส​ ีแ​ สดงผ​ ลง​ านแ​ ต่ละร​ ะดับต​ ่างๆ แท่งไ​ม้เ​หล่าน​ ี้จ​ ะถ​ ูกน​ ำม​ าว​ างไ​ว้ท​ ี่เ​ครื่องจักรต​ าม​
ระดับค​ วามส​ ามารถห​ รือผ​ ลง​ านข​ องเ​ครื่องจักรแ​ ต่ละต​ ัวใ​นร​ ะบบก​ ารผ​ ลิตข​ องโ​รงงาน ด้วยว​ ิธีน​ ี้พ​ นักงานจ​ ะถ​ ูกป​ ระเมิน​
ตาม​ระดับ​ผล​งาน​ของ​เครื่องจักร​ใน​แต่ละ​วัน และ​คน​งาน​จะ​สามารถ​เห็น​ผล​งาน​ของ​กัน​และ​กัน​ได้​อย่าง​ชัดเจน โอ​เวน​
ได้เ​รียก​ร้องใ​ห้น​ ักอ​ ุตสาหกรรม​ดำเนินต​ ามแ​ นวทาง​ของเ​ขา โดย​เพิ่มค​ วาม​สนใจใ​นก​ ารป​ รับปรุง​ผลง​ านข​ องค​ นง​ านด​ ้วย​
วิธี​การล​ งทุน​ในท​ รัพยากรม​ นุษย์ เขา​เห็น​ว่าด​ ้วย​วิธี​การล​ งทุน​ในท​ รัพยากร​มนุษย์​เท่านั้น จะ​ทำให้ส​ ามารถ​เพิ่ม​ผลผลิต​
ได้​มากกว่า​การ​พึ่งพาร​ ะบบ​เครื่องจักรแ​ ละอ​ ุปกรณ์
       2. ผลง​ านข​ องชา​รล์ ส์ บบั บ​ าด (1792-1871) บับบ​ าด (Charles Babbage) เป็นผ​ ู้​บุกเบิกร​ ายแ​ รกๆ ใน​ด้าน
​การ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์ (scientific management) การ​จัดการ​เชิง​วิจัย​ปฏิบัติ​การ (operations research)
และ​การ​จัดการเ​ชิงป​ ริมาณ (management science) ใน ค.ศ. 1822 เขาเ​ป็นผ​ ู้​คิดค้น​รายแ​ รก​เกี่ยว​กับส​ ่วน​ประกอบ​
ของ​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ และ​เป็น​ผู้​พัฒนา​โปรแกรม​การ​ใช้​เกม​คอมพิวเตอร์​ซึ่ง​เป็น​รากฐาน​สำคัญ​สำหรับ​การ​จัดการ​
เชิงป​ ริมาณใ​นป​ ัจจุบัน นอกจ​ าก​ นี้บับบ​ าดย​ ังเ​สนอแ​ นวคิดด​ ้านก​ ารจ​ ัดการข​ องเ​ขาโ​ดยเ​น้นใ​หค้​ วามส​ ำคัญท​ ีป่​ ัจจัยม​ นุษย์
โดย​เสนอใ​ห้​ทำการ​เชื่อมโ​ยงว​ ัตถุประสงค์ข​ องฝ​ ่ายจ​ ัดการ​และฝ​ ่าย​พนักงานใ​ห้​ไปด​ ้วยก​ ัน​อย่าง​ดี เทค​ นิค​ซึ่ง​บับบ​ าดไ​ด้​
นำ​เสนอ เช่น การแ​ บ่ง​ส่วน​กำไร (profit sharing) และก​ ารเ​สนอ​แนะ​ของ​ฝ่ายพ​ นักงาน (employee suggestion) ยัง​
คง​นิยมใ​ช้ก​ ันท​ ั่วไป​ในป​ ัจจุบัน
       อย่างไรก​ ็​ดี วัตถุประสงค์ข​ องก​ ารศ​ ึกษาเ​กี่ยวก​ ับท​ ฤษฎีอ​ งค์การแ​ ละก​ ารจ​ ัดการใ​นห​ น่วยน​ ี้​จะ​มุ่งศ​ ึกษาท​ ฤษฎ​ี
องค์การ​และ​แนวคิด​การ​จัด​การ​หลักๆ หรือ​ที่​สำคัญๆ ซึ่ง​เป็น​ที่​ยอมรับ​และ​ใช้​กัน​โดย​กว้าง​ขวาง​เท่านั้น นั่น​คือ​จะ​มุ่ง​
เสนอเ​นือ้ หาเ​กีย่ วก​ บั ว​ วิ ฒั นาการข​ องท​ ฤษฎี หรอื ว​ ธิ ก​ี ารศ​ กึ ษาห​ รอื แ​ นวคดิ ก​ ารจ​ ดั การต​ า่ งๆ ในก​ ารแ​ กป​้ ญั หาข​ องอ​ งคก์ าร
ซึง่ ผ​ ่านม​ าต​ ั้งแตอ​่ ดตี ห​ ลงั จ​ ากม​ กี​ ารป​ ฏิวตั อ​ิ ตุ สาหกรรมข​ ึ้นใ​นย​ ุโรปต​ ะวนั ต​ ก (ประเทศอ​ งั กฤษ) และม​ พี​ ฒั นาการต​ ่อเ​นื่อง​
เรื่อย​มา​จนถึง​ปัจจุบัน​ว่า​มี​พัฒนาการ​เป็น​มา​อย่างไร และ​ใน​แต่ละ​ยุค​นั้น​แนวคิด​ต่างๆ ที่​สำคัญ​ที่​เกิด​ขึ้น​มี​อิทธิพล​ใน​
การ​กำหนดส​ ภาวการณ์ใ​นด​ ้าน​การ​จัดการข​ อง​องค์การใ​น​ยุ​คนั้นๆ อย่างไร การนำเ​สนอเ​นื้อหาใ​น​หน่วยน​ ี้​จะ​แยก​เสนอ​
เนื้อหาเ​ชิงว​ ิวัฒนาการต​ ามแ​ นวคิดห​ ลักห​ รือแ​ นวคิดท​ ีส่​ ำคัญๆ ที่เ​กิดข​ ึ้นใ​น 3 ยุค คือ ยุค​แรกเ​ป็นย​ ุคท​ ฤษฎอี​ งค์การแ​ ละ​
การ​จัดการแ​ นว​คลาส​สิก​หรือส​ มัยเ​ดิม (classical approaches) และ​ยุค​ถัด​มาเ​ป็นย​ ุค​ทฤษฎี​องค์การ​และ​การจ​ ัดการ​

                              ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14