Page 13 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 13

ทฤษฎี​องค์การ​และก​ ารจ​ ัดการ 2-11

       อย่างไรก​ ด็​ แี​ มค้​ วามต​ ั้งใจจ​ ริงข​ องเ​ทยเ์​ลอร​ จ์​ ะเ​ป็นการเ​น้นท​ ีก่​ ารเ​ข้าก​ ันไ​ดด้​ รี​ ะหว่างผ​ ูป้​ ฏิบัตงิ​ านก​ ับฝ​ ่ายจ​ ัดการ​
และ​การ​เพิ่มป​ ระโยชน์เ​กื้อกูลต​ ่อ​คน​งาน แต่​จาก​การ​ที่เ​ทย์เ​ลอ​ร์​มี​คติฐ​ าน (assumption)* เกี่ยว​กับม​ นุษย์​ว่าเ​ป็น​ผู้​ที่​ม​ี
ความ​สมเ​หตุส​ ม​ผล และ​จาก​ความ​เชื่อ​เกี่ยว​กับก​ ารแ​ บ่ง​งานก​ ันท​ ำต​ ามค​ วามถ​ นัด (division of labor) ทำใ​ห้​เทย์​เลอร​์
ละเลย​และ​ไม่​ได้​ให้​ความ​สนใจ​เกี่ยว​กับ​ตัวแปร​ด้าน​อื่นๆ ของ​พฤติกรรม​มนุษย์​ใน​องค์การ​มาก​นัก นอกจาก​นี้​การ​ที่​
เทย์​เลอ​ร์​จำกัด​ความ​สนใจ​อยู่​เฉพาะ​ใน​ด้าน​การ​ผลิต​โดย​เน้น​การ​ศึกษา​วิเคราะห์​งาน​ที่​เป็น​งาน​ประจำ​ทำให้​ละเลย​ต่อ​
การ​คำนึง​ถึง​สภาวะ​แวดล้อม​ซึ่ง​องค์การ​จะ​ต้อง​ปรับ​ให้​เข้า​กัน​ได้​ด้วย ดัง​นั้น แนวคิด​ของ​การ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์
จึงเ​ป็นเ​พียง​ผลผลิตข​ อง​กาล​เวลา​ซึ่ง​นักว​ ิชาการ​ใน​ยุคต​ ่อ​มา เช่น เจมส์ ดี ทอมป​ ์ส​ ัน (James D. Thompson) เห็นว​ ่า​
จะ​ใช้ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ​ต่อ​เมื่อ​องค์การ​อยู่​ใน​สภาวะ​แวดล้อม​ที่ “รู้​วัตถุประสงค์​อย่าง​ชัดเจน งาน​มี​ลักษณะ​เป็น​
งาน​ประจำ ผลผลิต​ของ​องค์การ​ที่​ผลิต​ได้​สามารถ​จำหน่าย​ไป​ได้​หมด และ​ทรัพยากร​ที่​มี​คุณภาพ​มี​ให้​ใช้ได้​อย่าง​ไม่​
จำกัด”4 อันเ​ป็นส​ ภาวะแ​ วดล้อมข​ องช​ ่วงเ​วลาข​ ณะน​ ั้นเ​ท่านั้น หรือใ​นป​ ัจจุบันใ​นย​ ุคโ​ลกาภ​ วิ​ ัตน​ ห์​ รือโ​ลกไ​รพ้​ รมแดนข​ อง
ค.ศ. 2000 กจ​็ ะใ​ช้ไดด​้ กี​ บั ส​ ภาวะข​ องอ​ งค์การท​ ีม​่ คี​ วามแ​ นน่ อนข​ องส​ ภาวะแ​ วดล้อม เชน่ ระบบร​ าชการห​ รอื ใ​นห​ น่วยง​ าน​
ของภ​ าคร​ ฐั เ​ทา่ นั้น ซึ่งผ​ ลก​ ารว​ ิจัยข​ องน​ กั ว​ ชิ าการหลายท​ า่ นใ​นส​ มัยต​ ่อม​ าก​ ไ็ ดพ้​ ิสูจนใ์​หเ้​หน็ ถ​ ึงผ​ ลลัพธใ​์ นท​ างล​ บข​ องแ​ นว​
ความ​คิด​นี้ กล่าว​คือ​มี​ผล​วิจัย​ของ​นัก​วิชาการ​หลาย​ท่าน​ได้​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​แม้​แนวคิด​ทางการ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์​
จะ​ช่วยเ​พิ่มผ​ ลผลิตใ​ห้​มาก​ขึ้นก​ ็ตาม แต่ก​ ็ท​ ำให้​เกิด​ปัญหาเ​กี่ยว​กับม​ นุษย์​แทรกซ้อนข​ ึ้น จาก​ผลก​ ารว​ ิจัยเ​หล่าน​ ี้​ได้​บ่ง​ชี​้
ว่า​คน​งาน​ส่วน​ใหญ่​ไม่​ชอบ​ที่​จะ​ทำงาน​ใน​ลักษณะ​งาน​ประจำ และ​มี​ผล​การ​วิจัย​บาง​ผล​งาน​แสดง​ตัวเลข​จำนวน​ร้อย​ละ​
ของ​คน​งาน​ที่​ไม่​ชอบ​งาน​ลักษณะ​นี้ว​ ่า​มีส​ ูง​ถึง​ร้อย​ละ 905 ผล​การ​วิจัย​เหล่า​นี้​เป็น​ผล​นำ​ไป​สู่ค​ วาม​คิด​ของ​การ​ขยาย​งาน
(job enlargement) การเ​พิ่มค​ ุณค่า​ของง​ าน (job enrichment) และก​ ารใ​ห้​อำนาจ​ตัดสิน​ใจ​กับ​พนักงาน (employee
empowerment) เพือ่ ใ​หม้​ ลี​ กั ษณะท​ ไี​่ มเ่​ปน็ ง​ านป​ ระจำใ​นเ​วลาต​ อ่ ม​ า อยา่ งไรก​ ด็​ แี​ มจ​้ ะม​ ผ​ี ลก​ ารว​ ิจยั ท​ ีส่​ นับสนนุ เ​กี่ยวก​ ับ​
การข​ ยายง​ านว​ ่าจ​ ะเ​ป็นผ​ ลท​ ำให้เ​กิดค​ วามพ​ อใจแ​ ก่ผ​ ู้ป​ ฏิบัติง​ านโ​ดยไ​ม่ท​ ำให้ผ​ ลผลิตล​ ดล​ ง6 แต่ก​ ็ย​ ังม​ ีน​ ักว​ ิชาการห​ ลาย​
ท่านแ​ สดงค​ วามค​ ิดเ​ห็นว​ ่า จากห​ ลักฐ​ านต​ ่างๆ ที่ป​ รากฏอ​ อกม​ าน​ ั้น ยังไ​ม่เ​ป็นการเ​พียงพ​ อที่จ​ ะส​ รุปไ​ด้ว​ ่า การข​ ยายง​ าน​
นั้นเ​ป็นว​ ิธกี​ ารท​ ีจ่​ ะช​ ่วยแ​ กป้​ ัญหาใ​หก้​ ับแ​ นวค​ วามค​ ิดน​ ีไ้​ด้7 แตส่​ ำหรับก​ ารเ​พิ่มค​ ุณค่าข​ องง​ านแ​ ละก​ ารใ​หอ้​ ำนาจต​ ัดสินใ​จ​
กับพ​ นักงานซ​ ึ่ง​กำลังเ​ป็น​สิ่งท​ ี่​กล่าวถ​ ึงกันม​ าก​ในย​ ุค​สมัย ค.ศ. 2000 นั้น คงต​ ้องร​ อ​เวลาพ​ ิสูจน์​ต่อ​ไป

ผล​งานข​ อง​ กลิ เบรธ (Frank: 1868-1924, Lillian: 1878-1972)

       นอก​เหนือ​จาก​เทย์​เลอ​ร์​แล้ว ยัง​มี​ผู้​สนับสนุน​แนวคิด​ของ​การ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์ คือ แฟรงค์ บังเกอร์
กิลเบรธ และล​ ิลเ​ลี่ยน มอล​เลอ​ร์ กิลเบรธ (Frank Bunker Gilbert and Lillian Moller Gilbrelk) สอง​สามี​ภรรยา​
ผู้​ซึ่ง​ได้​รับ​การ​กล่าว​ขาน​ถึง​ใน​ผล​งาน​ด้าน “การ​ศึกษา​การ​เคลื่อนไหว” (motion study) ใน​ผล​งานการ​ศึกษา​ที่​มี
ชื่อเ​สียงข​ อง​เขา​ทั้ง 2 คนน​ ั้น เขา​สามารถ​ลด​จำนวน​การเ​คลื่อนไหวข​ อง​คนง​ าน​เรื่องอ​ ิฐ และเ​พิ่ม​ผลผลิต​ของค​ นง​ านไ​ด้​
ถึง​สาม​เท่า8 โดย​การ​จัด​ทำ​ภาพยนตร์​แสดง​ความ​เคลื่อนไหว​ใน​การ​ทำงาน เพื่อ​ชี้​ให้​เห็น​ถึง​การ​เคลื่อนไหว​ที่​สูญ​เปล่า
และ​ไม่มีผ​ ล​ต่อ​ผลผลิต และ​ได้แ​ สดงใ​ห้เ​ห็น​ถึงค​ วามเ​คลื่อนไหว​พื้น​ฐานด​ ้วยม​ ือ​จำนวน 17 ท่วงท่าท​ ี่​จำเป็นต​ ้องม​ ี​เพื่อ​
ให้​เกิด​ผลผลิต ความ​เคลื่อนไหวพ​ ื้น​ฐาน​ที่​ต้อง​มี​ทั้ง 17 ท่วงท่า​ที่​ได้​จาก​การ​ทำการ​ศึกษา​นี้​เรียก​ว่า​เธอ​ร์บ​ลิก (Ther-
blits) ซึ่ง​ได้จ​ ากก​ ารก​ลับ​อักษรช​ ื่อส​ กุล​ของเ​ขา​ทั้งส​ องน​ ั่นเอง ผล​งาน​ขอ​งกิลเบรธ ต่อ​มา​ถูกใ​ช้​เป็นร​ ากฐานใ​น​ด้าน​การ​
ออกแบบงานใ​ห้ง​ ่ายข​ ึ้น การ​กำหนด​มาตรฐาน​งาน และค​ ่าแรงง​ านแ​ บบจ​ ูงใจ ซึ่งเ​ทคนิค​ที่​เกี่ยวข้อง​กับเ​รื่อง​ดังก​ ล่าว​ถึง​
นี้ย​ ัง​คง​เป็นท​ ี่​นิยม​ใช้ก​ ัน​อยู่ใ​นป​ ัจจุบัน

         *ในต​ ำรา​บาง​เล่มแ​ ปลว​ ่า​คติฐ​ าน ฐาน​คติ ในช​ ุดว​ ิชาน​ ี้​ขอ​ใช้​คติ​ฐาน

                              ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18