Page 17 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 17
ทฤษฎีอ งค์การและการจัดการ 2-15
การจัดโครงสร้างองค์การท ี่เน้นการแบ่งหน้าที่ตามความชำนาญเฉพาะด้าน สำหรับในแง่ของการปฏิบัติงานได้เน้นให้
ทำการป ระสานว ตั ถปุ ระสงคข์ องพ นกั งานใหส้ อดคลอ้ งก บั ว ตั ถปุ ระสงคข์ องอ งคก์ ารน ัน้ ฟาโยลเ์ นน้ ใชว้ ธิ ขี องก ารท ำโทษ
การสั่งการ และควบคุมอย่างต ่อเนื่อง และการให้ผ ลประโยชน์ส่วนตัวข องพนักงานเป็นรองผ ลป ระโยชน์ขององค์การ
ผลง านของก ูลิคและเออรว์ ิค; มูนีและเรลลี
นักทฤษฎีองค์การซึ่งจัดอยู่ในยุคคลาสสิกและเน้นการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์การที่มีผลงานเป็น
ที่ยอมรับอีกกลุ่มหนึ่งคือกูลิคและเออร์วิค กับมูนีและเรลลี กูลิคนั้นเป็นผู้ที่รู้จักกันดีในเรื่องของการให้ความหมาย
ของการจัดการว่าประกอบไปด้วยหน้าที่ต่างๆ คือ พอสด์คอร์บ (POSDCoRB) ผลงานของกูลิคและเออร์วิคซึ่งเป็น
ที่ยอมรับข องน ักท ฤษฎีองค์การน ั้นปรากฏในห นังสือชื่อ Papers on the Science of Administration ซึ่งทั้งสอง
คนร ่วมก ันเป็นบ รรณาธิการ ในหนังสือเล่มน ี้ป ระกอบไปด ้วยผ ลง านข องเขาท ั้งส อง และรวมท ั้งผ ลง าน ขอ งฟ าโยล์ มูนี
เอลตัน มาโย (Elton Mayo) แมรี พาร์คเคอร์ โฟลเล็ตต์ (Mary Parker Follett) และ วี เอ ไกรคูนัส (V.A.
Graicunus) ปรากฏอยู่ด ้วย
ผลง านข องก ูล ิคแ ละเออ ร์ว ิคนั้นเน้นเกี่ยวก ับโครงสร้างข องอ งค์การ โดยเขาท ั้งส องได้เสนอห ลักก ารท ี่ค วรน ำ
มาใช้ในก ารจ ัดโครงสร้างข องอ งค์การ คือ หลักก ารเกี่ยวก ับก ารแ บ่งง านก ันท ำ การป ระสานง าน การจ ัดแ ผนกง านโดย
อาศัยเกณฑ์ก ารแ บ่งแ ยกตามว ัตถุประสงค์ (purposes) กระบวนการ (process) คน (persons) และสถานที่ (place)
และห ลักก ารเกี่ยวก ับช ่วยอ ำนวยก าร (staff)11 กล่าวค ือในผ ลง านข องก ูล ิคแ ละเออ ร์ว ิคได้ม ีก ารแ จกแจงเกี่ยวก ับข ้อดี
และข้อเสียเกี่ยวกับการใช้วิธีการแบ่งงาน และวิธีการประสานงานในองค์การตามวิธีต่างๆ การใช้หน่วยงานหลักและ
หน่วยช่วยอ ำนวยก ารให้เกิดป ระโยชน์สูงสุด การจัดช ่วงการบังคับบัญชาท ี่ดีที่สุด และประโยชน์ของการแบ่งงานต าม
ความช ำนาญเฉพาะด ้าน
สำหรับในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่องของการจูงใจคนให้ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ขององค์การนั้น กูล ิคและเออร์วิค
ไม่ได้เน้นในส่วนนี้มากนัก เพียงแต่ให้การยอมรับว่าโครงสร้างขององค์การเพียงอย่างเดียวไม่เป็นการประกันถึงการ
มีประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์การ ดังนั้น จึงจะต้องมีการพัฒนากลไกซึ่งจะเข้ามาช่วยให้คนเกิดความ
ปรารถนาที่จะทำงานและเกิดความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกันในการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ ในเรื่องนี้กูลิคและ
เออร์วิคไม่ได้เสนอแนวทางที่ทำให้เกิดสภาวะของการมีความตั้งใจในการทำงานร่วมกันของคน เพียงแต่เสนอแนะ
ว่าควรจะต้องมีการให้ความสำคัญกับหน้าที่การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เช่น การคัดเลือกพนักงานที่มีความรู้ความ
สามารถ การท ำให้พ นักงานมีค วามร ู้สึกว ่างานน ั้นเป็นอ าชีพอย่างห นึ่ง ซึ่งส ามารถท ี่จะก้าวหน้าต ่อไปได้ และการท ำให้
พนักงานปฏิบัติง านอ ย่างเต็มใจ12
ผลง านข อง มนู แี ละเรลล ี ในส ่วนผ ลง านข อง มูน ีแ ละเรลล ีซ ึ่งต ีพ ิมพ์ในห นังสือช ื่อ Onward Industry นั้นก ็ได้
เนน้ ม ากในเรื่องข องโครงสรา้ งข องอ งคก์ ารเชน่ ก นั โดยเน้นเกีย่ วก ับห ลักก ารข องก ารจ ัดอ งคก์ ารซ ึ่งเขาท ั้งส องพ บเหน็ ใน
องค์การต่างๆ เช่น กองทัพ องค์การท างศาสนา องค์การของรัฐและองค์การข องเอกชน13 หลักก ารที่ทั้งสองค นเสนอ
เกี่ยวกับก ารจัดอ งค์การ ซึ่งป รากฏในผลง านของเขาม ีดังนี้
1. หลักการเกี่ยวกับการประสานงาน การประสานงานเป็นสิ่งจำเป็นในการรวมความพยายามของคนใน
องค์การเพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การ ไม่ว่าองค์การนั้นจะประกอบด้วยคน 2 คนหรือมากกว่านี้ ในองค์การใดที่
ไม่มีก ารป ระสานง าน โดยส มมติว ่าว ัตถุประสงค์ค ือก ารย กข องช ิ้นห นึ่ง ถ้าค นห นึ่งย กอ ีกค นห นึ่งร อให้ค นแ รกย กเสร็จ
ก่อนแล้วจึงย กทีหลัง ก็จะไม่เกิดความมีเอกภาพในการป ฏิบัติง าน (unity of action) เหมือนก ับการย กพ ร้อมกันซึ่ง
จะท ำให้วัตถุประสงค์ข ององค์การส ามารถจะบรรลุได้ดีกว่า
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช