Page 16 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 16
2-14 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
1. การจ ดั แ บง่ ง านก นั ท ำ องคก์ ารจ ะต อ้ งม กี ารแ บง่ ง านก นั ท ำต ามค วามช ำนาญเฉพาะด า้ นเพือ่ เนน้ ป ระสทิ ธภิ าพ
ของก ารทำงาน
2. การกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ องค์การจะต้องกำหนดอำนาจหน้าที่ให้ชัดเจนให้แตกต่าง
จากอ ำนาจซ ึ่งไม่ได้เกิดจ ากต ำแหน่ง การก ำหนดอ ำนาจห น้าที่จ ะต ้องก ำหนดให้เหมาะส มก ับค วามร ับผ ิดช อบ ถ้าค วาม
รับผ ิดชอบม ากอำนาจห น้าที่ก็จ ะต้องมีม ากตามไปด้วย
3. การมีระเบียบว ินัย ระเบียบวินัยเป็นสิ่งจำเป็น ถ้าไม่มีระเบียบว ินัยองค์การจะไม่ก้าวหน้า และการด ำเนิน
การจะดำเนินไปอย่างไม่ร าบร ื่น
4. การม เี อกภาพในก ารบ งั คบั บ ญั ชา (unity of command) ผใู้ ตบ้ งั คบั บ ญั ชาจ ะต อ้ งร บั คำส ัง่ จ ากผ บู้ งั คบั บ ญั ชา
เพียงคนเดียว
5. การม เี อกภาพในแ นวทาง (unity of direction) ทุกๆ หน่วยง านต ้องก ำหนดเป้าห มายท ีส่ ัมพันธต์ ่อเนื่องกัน
ในทุกระดับก ารบริหารเพื่อให้เกิดการมีเอกภาพในแนวทาง
6. การให้ประโยชน์ส่วนตัวเป็นรองประโยชน์ส่วนรวม พนักงานควรคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์ส ่วนตัว
7. การจ ดั ใหม้ คี า่ ต อบแทนท ยี่ ตุ ธิ รรม การจ ่ายค ่าต อบแทนจะต ้องย ุติธรรมและเป็นท ี่พ อใจข องท ั้งบ ุคคลและ
องค์การ
8. การรวมอำนาจ เป็นสิ่งจ ำเป็นสำหรับอ งค์การ แต่ค วามม ากน ้อยของการร วมอำนาจอ าจแปรเปลี่ยนไปได้
ตามก รณีและเงื่อนไขข องแต่ละอ งค์การในแ ต่ละช ่วงเวลา
9. การจ ดั สายก ารบงั คับบ ญั ชา สายการบังคับบัญชาจะต้องมีในองค์การจากตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่สูงสุด
จนถึงตำแหน่งห น้าที่ต่ำสุด เป็นส ายการบังคับบ ัญชาล ดห ลั่นกันลงมาตามล ำดับจ ากบ นลงล ่าง
10. การจัดร ะเบียบ องค์การจ ะต้องจ ัดร ะเบียบให้ท ุกคนปฏิบัติในแนวเดียวกัน
11. การผดุงความเป็นธรรม ถ้าองค์การต้องการให้ทุกคนอุทิศตนและซื่อสัตย์ต่อองค์การจะต้องให้ความ
เป็นธ รรมกับทุกค นโดยเสมอภาค
12. การทำให้มีความมั่นคงในการทำงาน องค์การจะต้องให้เวลาพอสมควรกับพนักงานเพื่อให้สามารถ
ปรับตัวได้และได้รับการฝึกอ บรมเพื่อให้ท ำงานได้อย่างม ีป ระสิทธิผล ไม่ต้องกังวลก ับก ารถ ูกเลิกจ ้าง
13. การมีความคิดริเร่ิม องค์การควรจะสนับสนุนให้พนักงานมีความคิดริเริ่มที่จะเสนอแนะความคิด
สร้างสรรค์จากท ุกส ่วนในองค์การ
14. การร กั ษาค วามส ามคั คขี องห มคู่ ณะ องคก์ ารค วรจ ะเน้นก ารท ำงานร ว่ มก ันเปน็ ท มี ม ากกวา่ ก ารท ำงานแ บบ
เอกเทศห รือตัวใครต ัวม ัน เพราะการมีความสามัคคีเป็นการท ำให้เกิดกำลังท ี่มั่นคงต่ออ งค์การ
และในส ่วนที่เกี่ยวกับอ งค์ป ระกอบของก ารจัดการนั้น ฟาโยล์ได้แบ่งการจ ัดการเป็น 5 ประการ ได้แก่
1. การวางแผน (Planning)
2. การจัดองค์การ (Organizing)
3. การส ั่งก าร (Commanding)
4. การประสานงาน (Coordinating)
5. การควบคุม (Controlling)
จากหลักการต่างๆ ที่ฟาโยล์เสนอนี้ เมื่อมองในแง่ของนักทฤษฎีองค์การแล้วก็จะเห็นได้ว่าผลงานของ
ฟาโยล์นั้นส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องทั้งในแง่ของโครงสร้างองค์การและในแง่ของการปฏิบัติงานที่ดีที่สุดให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงคข์ องอ งค์การ ในแ งข่ องโครงสร้างจ ะเห็นไดว้ ่าฟ าโยลม์ แี นวโน้มเอนเอียงม าในเรื่องข องก ารร วมอ ำนาจแ ละ
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช