Page 21 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 21

ทฤษฎี​องค์การแ​ ละ​การจ​ ัดการ 2-19

เรอ่ื งท​ ่ี 2.1.4
หลกั ก​ ารส​ ำคัญต​ ามแ​ นวคิดก​ ารจ​ ดั การยุคคลาสส​ กิ

       	
       จาก​ที่​ได้​กล่าว​มา​ใน​เรื่อง​ที่ 2.1.1 และ​เรื่อง​ที่ 2.1.2   พอ​จะ​กล่าว​ได้​อีก​นัย​หนึ่ง​ว่า นัก​ทฤษฎี​องค์การ​ใน​
ยุคคลาสสิ​กนี้​พยายาม​ที่​จะ​เสนอ​หลัก​การ​ต่างๆ เกี่ยว​กับ​การ​จัด​องค์การ​อัน​เป็น​หลัก​สากล (universal principles)
ซึ่งส​ ามารถจ​ ะน​ ำม​ าใ​ช้ได้ก​ ับอ​ งค์การท​ ุกป​ ระเภทใ​นท​ ุกส​ ภาวการณ์ หลักก​ ารต​ ่างๆ ของยุคค​ ลาสส​ ิกท​ ี่ไ​ด้ม​ ีก​ ารค​ ิดค้นข​ ึ้น​
นี้ม​ ีพ​ ื้นฐ​ านม​ าจ​ ากค​ วามเ​ห็นพ​ ้องก​ ันข​ องน​ ักท​ ฤษฎใี​นย​ ุคน​ ี้ว​ ่า การท​ ี่จ​ ะท​ ำใหก้​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านใ​ดใ​หเ้​กิดป​ ระสิทธิภาพไ​ด้น​ ั้น
จำเป็น​จะ​ต้อง​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​เรื่อง​ของ​การ​ประสาน​งาน (coordination) และ​การ​แบ่ง​งาน​กัน​ทำ​ตาม​ความ​ชำนาญ​
เฉพาะ​ด้าน (specialization)17 จาก​การ​เห็น​พ้อง​กัน​ใน​ความ​คิด​เห็น​นี้​จึง​ได้​มี​การ​พัฒนา​หลัก​การ​ต่างๆ ขึ้น​เพื่อ​ช่วย​
ในก​ าร​ดำเนินก​ าร​ใน​ทั้ง 2 ด้านข​ ้าง​ต้น18 เช่น
       1. หลัก​สกา​ลาร์ (scalar principle)
       2. หลักเ​อกภาพใ​น​การบ​ ังคับบ​ ัญชา (unity of command principle)
       3. หลักช​ ่วงก​ าร​บังคับบ​ ัญชาห​ รือ​ขอบข่ายก​ ารบ​ ังคับบ​ ัญชา (span of control principle)
       4. หลัก​การเ​น้น​ที่จ​ ุด​สำคัญ (exception principle)
       5. หลัก​การ​จัดแ​ บ่งแ​ ผนกง​ าน (departmentalization principle)
       6. หลักก​ าร​เกี่ยวก​ ับห​ น่วย​งาน​หลักแ​ ละ​หน่วยง​ านส​ นับสนุน (line–staff principle)
       7. หลัก​การ​เกี่ยว​กับศ​ ูนย์ก​ ำไร (profit center concept)
       จากห​ ลัก​การ​ข้างต​ ้นน​ ี้ สี่ห​ ลัก​แรก​เป็นห​ ลัก​การ​ที่เ​กี่ยว​กับ​การป​ ระสาน​งาน และ​สามห​ ลักก​ ารห​ ลัง​เป็น​หลัก​การ​
เกี่ยวก​ ับก​ ารแ​ บ่งง​ านก​ ันท​ ำต​ ามค​ วามช​ ำนาญเ​ฉพาะด​ ้าน ซึ่งห​ ลักก​ ารต​ ่างๆ ดังก​ ล่าวข​ ้างต​ ้นย​ ังเ​ป็นท​ ี่ย​ อมรับใ​ช้ก​ ันอ​ ยู่ใ​น​
ปัจจุบันจ​ ึง​จะข​ อน​ ำ​มา​กล่าวพ​ อส​ ังเขป ดังนี้
       1. 	หลัก​สกา​ลาร์ หรือ​ที่​นิยม​เรียก​ชื่อ​กัน​ใน​องค์การ​ที่​เป็นก​อง​ทัพ​ว่า​สาย​การ​บังคับ​บัญชา (chain of com-
mand) กล่าว​ว่า อำนาจ​หน้าที่​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​จะ​ได้​รับ​การ​กำหนด​ไว้​อย่าง​ชัดเจน และ​แบ่ง​เป็น​ระดับ​หรือ​เป็น
​สาย​การบ​ ังคับบ​ ัญชาล​ ด​หลั่น​กันลงม​ า​จากเ​บื้องบ​ นม​ า​สู่เ​บื้องล​ ่าง ผู้​ที่อ​ ยู่​ในต​ ำแหน่งท​ ี่​สูง หรือ​ระดับส​ ูง​กว่า​จะ​มี​อำนาจ​
หน้าที่​และค​ วาม​รับ​ผิดช​ อบ​มากกว่า​ผู้อ​ ยู่ใ​น​ตำแหน่งต​ ่ำก​ ว่า หรือ​ระดับ​ที่ต​ ่ำ​กว่า
       2. 	หลัก​เอกภาพ​ใน​การ​บังคับ​บัญชา หลัก​การ​นี้​กล่าว​ว่า ใน​การ​ที่​จะ​หลีก​เลี่ยง​การ​สั่ง​การ​หรือ​การ​ปฏิบัติ​งาน​
ที่​ซ้ำ​ซ้อน​และ​หรือ​ขัด​กัน จำเป็น​ที่​จะ​ต้อง​หลีก​เลี่ยง​การ​ให้​สมาชิก​ของ​องค์การผ​ ู้​หนึ่ง​ผู้​ใด​รับคำ​สั่ง​การ​หรือ​รายงานต​ ่อ
ผ​ ู้​บังคับบ​ ัญชาเ​กินก​ ว่า 1 คน ในก​ ารท​ ำ​หน้าที่ห​ นึ่งห​ น้าที่ใ​ด ซึ่งก​ ล่าวไ​ด้​อีก​นัยห​ นึ่งไ​ด้​ว่า ในก​ ารป​ ฏิบัติห​ น้าที่ห​ นึ่งห​ น้าที​่
ใด​นั้นผ​ ู้​ใต้บ​ ังคับ​บัญชาไ​ม่​ควรจ​ ะ​ได้​รับคำ​สั่งจ​ าก​ผู้​บังคับบ​ ัญชา 2 คนใน​เวลาเ​ดียวกัน
       3. 	หลัก​ช่วง​การ​บังคับ​บัญชา หลัก​การ​เกี่ยว​กับ​ช่วง​การ​บังคับ​บัญชา​หรือ​ขอบข่าย​การ​บังคับ​บัญชา กล่าว​ว่า​
ขนาด​หรือ​จำนวน​ของ​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​ซึ่ง​ผู้​บังคับ​บัญชา​คน​หนึ่ง สามารถ​บังคับ​บัญชา​ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ​จะ​มี​
จำนวน​จำกัด นั่นค​ ือ เนื่องจากเ​วลาแ​ ละส​ มรรถนะข​ อง​ผู้​บังคับ​บัญชา​มี​อยู่​อย่าง​จำกัด ดัง​นั้น ผู้​บังคับบ​ ัญชาจ​ ึง​ไม่ค​ วร​
จะ​บังคับ​บัญชา​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​เกิน​จำนวน​ไป​กว่า​ที่​จะ​สามารถ​บังคับ​บัญชา​ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ ใน​เรื่อง​นี้ วี เอ
ไกรค​ ูนสั​ (V.A. Graicunus) และเ​ออ​ รว์​ ิค เห็นพ​ ้องก​ ันว​ ่า ช่วงก​ ารบ​ ังคับบ​ ัญชาข​ องผ​ ูบ้​ ริหารค​ นใ​ดค​ นห​ นึ่งค​ วรม​ ไี​มเ่​กิน
5 คน หรือม​ ี​ได้​อย่าง​มาก​ไม่เ​กิน 6 คน ถ้าง​ านข​ อง​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​มีค​ วามเ​กี่ยวพ​ ัน​กัน19

                              ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26