Page 23 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 23
ทฤษฎีองค์การและการจัดการ 2-21
กิจกรรม 2.1.4
1. จากห ลกั ก ารต า่ งๆ ของแ นวคดิ การจดั การยคุ ค ลาสส กิ ข า้ งต น้ เปน็ ห ลกั ก ารซ ง่ึ ไมร่ วมเอาแ นวคดิ ก าร
จัดการเชงิ วทิ ยาศาสตรไ์ว้ดว้ ยใช่หรือไม่ จงอธบิ าย
2. จงอธิบายเกย่ี วก ับหลักการศูนย์กำไรพอเขา้ ใจ
แนวต อบก จิ กรรม 2.1.4
1. แนวท ฤษฎอี งคก์ ารแ ละก ารจ ดั การย คุ ค ลาสส กิ ไดร้ วมเอาแ นวคดิ การจ ดั การเชงิ ว ทิ ยาศาสตรก์ บั แ นว
ความคิดการจัดการเชิงกระบวนการไว้ด้วยกัน เพราะท้ังสองแนวคิดนี้ได้เน้นเก่ียวกับการออกแบบโครงสร้าง
ขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จะแตกต่างกันเพียงระดับของการบริหารท่ีเน้นในองค์การเท่านั้น ใน
หลักการยุคคลาสสิกซ่ึงกล่าวในเร่ืองน้ีหลักการเน้นที่จุดสำคัญ เป็นหลักการซึ่งเสนอจากแนวคิดการจัดการเชิง
วทิ ยาศาสตร์และโดยเฉพาะเปน็ แนวค ดิ ของเทย์เลอร์ ซง่ึ ไดเ้ สนอให้มีการแ ยกการว างแผนและการป ฏบิ ตั ิจากก นั
เพ่ือท่ีผ บู้ รหิ ารจะได้มเีวลาให้กับก ิจกรร มส ำคัญๆ ของอ งค์การ
2. หลักการเก่ียวกับศูนย์กำไรก็คือ หลักการกระจายอำนาจน่ันเอง โดยทั่วไปบริษัทข้ามชาติซ่ึงมีการ
ลงทนุ อ ยู่ในพ น้ื ทต่ี ่างๆ ทั่วโลก จะกำหนดโครงสร้างองคก์ ารเปน็ ลักษณะห น่วยง านอสิ ระ (divisional) แยกจ าก
กนั เป็นเอกเทศ และม องได้เป็นศ นู ยก์ ำไรซึง่ ผ้บู ริหารแ ต่ละหน่วยงานอสิ ระจ ะต้องถ ูกป ระเมินในแงก่ ารทำก ำไร
เร่ืองท่ี 2.1.5
ขอ้ วจิ ารณต์ อ่ ท ฤษฎีอ งค์การแ ละการจดั การยคุ คลาสส ิก
ข้อว ิจารณ์ต ่อท ฤษฎีอ งค์การและก ารจัดการย ุคคลาสส ิก อาจแ ยกได้ดังนี้
1. หลักการท ี่ข ัดแย้งก ันเองแ ละขาดหลักฐานพิสูจน์
2. คติฐ านเกี่ยวก ับมนุษย์ท ี่ไม่ถ ูกต ้อง
3. คติฐ านที่เกี่ยวกับง านไม่ถูกต ้อง
4. ผลกระท บทางด้านอื่นท ี่คาดไม่ถ ึง
หลักก ารทข่ี ัดแ ยง้ กันเองและข าดหลกั ฐ านทีพ่ ิสูจน์ได้
หลักก ารต ่างๆ ของยุคคลาสส กิ นั้นผ ูว้ ิจารณไ์ดก้ ล่าวไวว้ ่าพ ยายามท ีจ่ ะส ร้างห ลักก ารใหเ้ป็น “กฎ” ซึ่งส ามารถ
นำม าใช้ได้กับส ภาวะของอ งค์การได้ท ุกสภาวะ ทั้งๆ ที่ไม่มีหลักฐ านเชิงประจักษ์ว าทสนับสนุนแ ละห ลักก ารต่างๆ นั้น
บางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง ยกตัวอย่างเช่น ในหลักการเกี่ยวกับช่วงการบังคับบัญชานั้น จากหลักฐานที่ปรากฏทั่วไป
พบว่าไม่ได้เป็นไปตามหลักการที่เสนอไว้ บางองค์การมีช่วงการบังคับบัญชามากกว่าที่ไกรคูนัสเสนอ แต่ก็สามารถ
ดำเนินงานอย่างม ีป ระสิทธิภาพแ ละประสบผลสำเร็จ นอกจากนี้ผลงานข อง โจน วูดวาร์ด (Joan Woodward)22 ยัง
แสดงใหเ้ห็นว ่าโครงสร้างข องอ งค์การจ ะต ้องป รับเปลี่ยนต ามเทคโนโลยีท ี่เปลี่ยนไป ซึ่งแ สดงให้เห็นว ่าไม่มหี ลักก ารใด
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช