Page 25 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 25
ทฤษฎีองค์การและก ารจ ัดการ 2-23
ผลกระท บท างดา้ นอ นื่ ท คี่ าดไ ม่ถ ึง
ในประการสุดท้ายนี้ผู้วิจารณ์เกี่ยวกับหลักการต่างๆ ของยุคความคิดในแนวคลาสสิกวิจารณ์ว่าหลักการ
ต่างๆ ของย ุคน ี้เป็นห ลักก ารซ ึ่งเส้นใช้ว ิธีข องก ารค วบคุม โดยก ารอ อกก ฎแ ละค วบคุมส ั่งก ารโดยใกล้ช ิด เพื่อให้บ ุคคล
ปฏิบัติสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์การ การใช้วิธีการที่มุ่งในการควบคุมงานนี้ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่คาดไม่ถึง
ตามมา เช่นดังที่โรเบิร์ต เมอร์ตัน (Robert Merton) ได้พบว่าการใช้มาตรฐานและการควบคุมสั่งการพนักงานโดย
ใกล้ชิดเพื่อเป็นการประกันให้งานสำเร็จลุล่วงด้วยดีนั้น มีผลกระทบด้านอื่นๆ ที่คาดไม่ถึงตามมา เช่น การที่บุคคล
อิงกฎและมาตรฐานในการปฏิบัติงานทำให้ความสัมพันธ์ไม่เป็นทางการระหว่างบุคคลต่างๆ ในองค์การมีจำนวน
ลดลง และม าตรฐานนั้นถ ูกนำม าใช้เป็นเป้าหมายแ ทนที่จะใช้กลไกช ่วยในการบรรลุเป้าห มาย25
นอกจากน ี้ยังมี อัลวิน กูล ด์เนอร์ (Alvin Gouldner) ซึ่งพ บว่าก ฎและร ะเบียบของน ักท ฤษฎีย ุคคลาสส ิกได้
ถูกใช้เป็นแ นวทางในด ้านอ ื่นน อกเหนือจ ากท ี่ผ ู้ค ิดค้นก ฎแ ละร ะเบียบก ำหนดไว้ด ้วย เช่น ถ้าก ฎแ ละร ะเบียบก ำหนดว ่า
พฤตกิ รรมล กั ษณะห นึง่ ล กั ษณะใดไมเ่ ปน็ ท ตี่ อ้ งการ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านก พ็ ยายามห ลกี ไมท่ ำแ ละจ ะไมท่ ำอ ะไรท นี่ อกเหนอื จ าก
กฎและร ะเบียบนั้นเลย การกระทำเช่นน ี้ไม่ท ำให้อ งค์การดีข ึ้น ในทางต รงข้าม กูลด์เนอร ์ กล่าวว่า สมาชิกขององค์การ
ควรต้องพยายามที่จะทำสิ่งใดๆ ที่มากไปกว่าหน้าที่กำหนดไว้สำหรับงานนั้น องค์การจึงจะสามารถดำเนินไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและบรรลุว ัตถุประสงค์26
โดยสรุปทฤษฎีและหลักการต่างๆ ของยุคคลาสสิกเป็นหลักการที่เน้นเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้างขององค์การ
แต่ไม่ได้ให้คำตอบที่ว่าจะจัดการเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์การได้อย่างไร หลักการต่างๆ ที่มีผู้คิดค้นขึ้นไม่อาจแก้
ปัญหาในด้านเกี่ยวก ับโครงสร้างข องอ งค์การได้ทั้งหมด ดังจะเห็นได้ว่าการใช้หลักก ารห นึ่งหลักก ารใดก็อ าจทำให้ไม่
สามารถใชห้ ลักก าร อืน่ ๆ ไดค้ วบคูก่ ันเพราะห ลักก ารต ่างๆ ทีน่ ำม าใชอ้ าจข ัดแ ย้งก นั เอง อย่างไรก ด็ พี อจ ะก ลา่ วไดว้ า่ แม้
หลักการต ่างๆ ของยุคคลาสส ิกจะไม่ค ่อยมีค วามถ ูกต้องเพียงพ อนัก แต่ก ็มีส่วนช ่วยอ ย่างม ากในการนำเสนอต ัวแปร
ต่างๆ ที่จะต้องให้ความสนใจเมื่อท ำการออกแบบโครงสร้างข องอ งค์การ
กจิ กรรม 2.1.5
1. ทา่ นค ดิ วา่ ป ญั หาพ น้ื ฐานซ ่ึงทำให้เกดิ การขัดแย้งกันขึ้นในการนำหลักก ารบ ริหารไปใชเ้ กดิ จากอะไร
2. ขอ้ ว จิ ารณต์ อ่ ท ฤษฎอี งคก์ ารแ ละก ารจ ดั การย คุ ค ลาสส กิ ท วี่ า่ ม คี ตฐิ านเกยี่ วก บั ง านท ไ่ี มถ่ กู ต อ้ งน น้ั เปน็
อยา่ งไร
แนวตอบก จิ กรรม 2.1.5
1. ปญั หาพ น้ื ฐ านซ ง่ึ ท ำใหเ้ กดิ ก ารข ดั แ ยง้ ก นั ร ะหวา่ งห ลกั ก ารต า่ งๆ ดว้ ยก นั เกดิ จ ากก ารท ห่ี ลกั ก ารต า่ งๆ
ทพี่ ฒั นาข น้ึ น นั้ ไมไ่ ดก้ ำหนดแ นวทางส ำหรบั ผ บู้ รหิ ารเพอ่ื ท จ่ี ะส ามารถค ดั เลอื กหลกั ก ารม าใชไ้ ดอ้ ยา่ งถ กู ต อ้ ง เชน่
ในก ารนำห ลกั ก ารเกย่ี วก บั เอกภาพในก ารบ งั คบั บ ญั ชาแ ละห ลกั ส ายก ารบ งั คบั บ ญั ชาม าใชเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ป ระสทิ ธภิ าพ
ในการประสานงานนั้น จะทำให้ลดความสำคัญของหลักการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน แต่ถ้า
เน้นหลักการของการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน ก็จะทำให้เกิดความสับสนเก่ียวกับการส่ังการ
และเอกภาพข องก ารบ งั คบั บ ญั ชา หรอื เชน่ ก ารเลอื กใชห้ ลกั ก ารข องก ารแ บง่ แ ผนกง านก ไ็ มไ่ ดแ้ สดงถ งึ ห ลกั เกณฑท์ ี่
ชดั เจนว า่ จ ะม เี กณฑก์ ารแ ยกข อ้ แ ตกต า่ งอ ยา่ งไร ระหวา่ งท ก่ี ารจ ดั แ ผนกง านต ามว ตั ถปุ ระสงคก์ บั ก ารจ ดั แ ผนกงาน
ตามกระบวนการ เช่น หน่วยงานฉุกเฉินในโรงพยาบาลน้ันควรถือว่าเป็นกระบวนการหรือวัตถุประสงค์ จะมี
วธิ ีการจ ำแนกข้อแ ตกต่างนไี้ด้อย่างไร
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช