Page 20 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 20

2-18 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

       จากผ​ ลง​ านร​ ะบบร​ าชก​ ารข​ องเ​วเ​บอร์ถ​ ้าม​ องใ​นแ​ ง่ข​ องน​ ักท​ ฤษฎีอ​ งค์การแ​ ล้วจ​ ะเ​ห็นว​ ่า ผลง​ าน​ ขอ​ งเ​วเ​บอร์เ​ป็น​
ผล​งาน​เน้น​หนัก​ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​ออกแบบ​โครงสร้าง​ของ​องค์การ โดย​ได้​เสนอ​องค์การ​ที่​เป็น​อุดมคติ​ซึ่ง​เขา​คิด​
ว่าเ​ป็น​องค์การท​ ี่​ให้ป​ ระสิทธิภาพม​ ากกว่าอ​ งค์การท​ ี่ก​ ำหนดโ​ครงสร้างม​ า​จาก​หลัก​เกณฑ์ท​ ี่​ไม่ไ​ด้​อิงค​ วาม​สม​เหตุส​ มผ​ ล
สำหรับ​ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​จูงใจ​คน​ให้​ปฏิบัติ​สอดคล้อง​กับ​วัตถุประสงค์​ของ​องค์การ​นั้น แม้​เว​เบอร์​จะ​ไม่​ได้​เน้น​ใน​
ผล​งานท​ ี่​เขียน​ในเ​รื่อง​ระบบร​ าชการ แต่จ​ าก​ผล​งานเ​ขียนอ​ ื่นๆ ของ​เขาก​ ็​พอ​จะก​ ล่าว​ได้​ว่าเ​ขาเ​น้นท​ ี่​ความม​ ี​ระเบียบว​ ินัย
(discipline) ของค​ นเ​ป็น​สิ่งจ​ ำเป็น​เบื้องต​ ้น​ที่ข​ าด​ไม่​ได้​จากร​ ะบบร​ าชการท​ ี่​เขาค​ ิดข​ ึ้น16

       หากจ​ ะก​ ล่าวโ​ดยส​ รุปเ​กี่ยวก​ ับแ​ นวค​ ิดก​ ารจ​ ัดการห​ รือท​ ฤษฎอี​ งค์การใ​นย​ ุคค​ ลาสส​ ิก พอจ​ ะก​ ล่าวไ​ด้ว​ ่าแ​ นวคิด​
หรือ​ทฤษฎี​องค์การ​ในยุคคลาส​สิ​กนี้เ​น้น​หนัก​ในเ​รื่อง​หลักก​ ารข​ องก​ าร​แบ่งง​ าน​กันท​ ำ การก​ ำหนดส​ าย​การบ​ ังคับบ​ ัญชา
การ​กำหนด​อำนาจ​หน้าที่​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ การ​กำหนด​มาตรฐาน​ของ​งาน และ​การ​กำหนด​กฎ​และ​ระเบียบ​วิธี​
ปฏิบัติงาน​ที่ช​ ัดเจน หรือก​ ล่าวอ​ ีกน​ ัย​หนึ่งไ​ด้ว​ ่าค​ วามส​ นใจส​ ่วน​ใหญ่​เป็น​ไปใ​น​ด้าน​ของ​โครงสร้างอ​ งค์การ แนวค​ ิดข​ อง​
ยคุ ค​ ลาสส​ กิ เ​กีย่ วก​ บั ก​ ารป​ ฏบิ ตั ง​ิ านข​ องค​ นในอ​ งคก์ ารถ​ กู ม​ องใ​นท​ างล​ บม​ ากกวา่ บ​ วกน​ ัน่ ค​ อื มนษุ ยใ​์ นย​ คุ น​ ถี​้ กู ม​ องว​ า่ เ​ปน็ ​
คน​เกียจคร้าน​และ​ไม่ส​ นใจท​ ำงาน ดัง​นั้น จึงต​ ้องม​ ี​โครงสร้าง​ซึ่ง​สามารถท​ ำการค​ วบคุมโ​ดย​ใกล้​ชิด โดย​มี​การอ​ อกก​ ฎ​
และร​ ะเบียบต​ ่างๆ เพื่อค​ วบคุมพ​ ฤติกรรมข​ องม​ นุษย์ หาไมแ่​ ล้วพ​ ฤติกรรมข​ องม​ นุษยใ์​นก​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านจ​ ะไ​มส่​ อดคล้อง​
เป็นไ​ปต​ ามว​ ัตถุประสงค์​ของอ​ งค์การ และ​มนุษย์เ​ปรียบไ​ด้ก​ ับม​ นุษย์เ​ศรษฐศาสตร์ ซึ่ง​สนใจเ​พียงใ​นแ​ ง่ท​ ี่จ​ ะท​ ำให้ฐ​ านะ​
ทางเ​ศรษฐกิจข​ องต​ นเองด​ ีข​ ึ้น ดังน​ ั้น การท​ ี่จ​ ะจ​ ูงใจใ​ห้เ​ขาท​ ำงานไ​ด้อ​ ย่างเ​ต็มค​ วามส​ ามารถแ​ ละม​ ีป​ ระสิทธิภาพก​ ็ต​ ้องใ​ช​้
สิ่งต​ อบแทนด​ ้วยต​ ัวเ​งินเ​ป็นส​ ิ่งจ​ ูงใจ แนวคิดเ​กี่ยวก​ ับก​ ารม​ องม​ นุษย์ว​ ่าเ​ป็นเ​สมือนเ​ครื่องจักรแ​ ละม​ นุษย์เ​ศรษฐศาสตร์
นี้ไ​ด้ร​ ับก​ าร​ปฏิเสธ​ว่าไ​ม่เ​ป็น​จริง​จากน​ ักท​ ฤษฎี​ใน​ยุคถ​ ัด​มา ซึ่ง​จะไ​ด้​นำม​ าก​ ล่าวต​ ่อ​ไป

  กจิ กรรม 2.1.3
         1. 	ระบบ​ราชการ​ตาม​แนว​คิด​ของ​เว​เบอร์​เกิด​ขึ้น​ได้​แต่​เฉพาะ​ใน​องค์การ​ภาค​รัฐ​ใช่​หรือ​ไม่ ขอ​ให้​แสดง​

  เหตผุ ล​ประกอบ
         2. 	แนวคดิ ​ของ “ระบบ​ราชการ” เปน็ ​อย่างไร จงอ​ ธิบาย

  แนวต​ อบ​กจิ กรรม 2.1.3
         1. 	ระบบร​ าชการต​ ามแ​ นวค​ ดิ ข​ องเ​วเ​บอร์ อาจน​ ำม​ าใ​ชไ้ ดท​้ งั้ อ​ งคก์ ารภ​ าคร​ ฐั แ​ ละเ​อกชน แตจ่​ ะใ​ชไ้ ดอ้​ ยา่ ง​

  มี​ประสิทธิภาพ​ใน​องค์การ​ที่​มี​สภาวะ​แวดล้อม​คงที่​หรือ​มี​การ​เปล่ียนแปลง​แบบ​ช้าๆ สำหรับ​ใน​สภาวะ​แวดล้อม​
  ท่ม​ี ก​ี าร​เปลีย่ นแปลง​ทรี่​ วดเร็วแ​ ละแ​ บบ​กา้ วก​ ระโดด เชน่ ยคุ ส​ มยั โ​ลกา​ภิ​วตั น​ ์ ระบบร​ าชการ​จะ​เปน็ ​ขอ้ ก​ ำจัด​อย่าง​
  มาก เพราะ​จะ​เน้นท​ ีร่​ ะเบยี บป​ ฏิบตั ิ​และข​ ้ัน​ตอน ทำให้​มนุษย์ไ​มเ่​กดิ ม​ ​ีความค​ ิดส​ ร้างสรรคแ์​ ละ​ไมส่​ ามารถ​ปรับต​ ัว​
  ได้​ทันก​ บั ​สภาพก​ ารณ์​ปจั จุบัน​ท่ีต​ ้องเ​นน้ เ​ร่อื งก​ าร​แขง่ ขัน​และ​การส​ รา้ งค​ วาม​ได้​เปรียบท​ างการ​แขง่ ขันแ​ บบ​ย่งั ยนื

         2. 	ระบบ​ราชการ จะ​เน้น​กำหนด​โครงสร้าง​องค์การ​ที่​เป็น​ทางการ​และ​การ​ออก​กฎ​ระเบียบ วิธี​ปฏิบัติ​
  ต่างๆ เพื่อ​กำกับ​ควบคุม​พฤติกรรม​ของ​มนุษย์​ขณะ​ปฏิบัติ​งาน โดย​มอง​มนุษย์​ใน​เชิง​ลบ​ว่า​เป็น​มนุษย์​เศรษฐกิจ​ที่​
  เห็น​แก่​ราย​ได้​และ​สิน​จ้าง มากกว่า​การ​มอง​ว่า​เป็น​มนุษย์​สังคม ท่ี​มี​เกียรติ มี​ศักดิ์ศรี มี​ความ​เข้าใจ​และ​เต็มใจ​จะ​
  กระทำต​ ามบ​ ทบาทท​ ่ี​ได​้รับ​มอบ

                             ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25