Page 19 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 19
ทฤษฎีอ งค์การและก ารจ ัดการ 2-17
เรื่องท ี่ 2.1.3
แนวคิดก ารจัดองคก์ ารแบบระบบราชการ
ผลง านขอ งเวเบอร์ (1864 - 1920)
แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) เป็นนักสังคมวิทยาช าวเยอรมนีที่ได้ให้ค วามสนใจเกี่ยวก ับป ัญหาข องการจัด
องค์การอย่างมาก ผลง าน ของเวเบอร์ซึ่งต ีพิมพ์ในเยอรมนีใน ค.ศ. 1921 นั้น ไม่เป็นที่รู้จักของนักท ฤษฎีองค์การใน
อเมริกาจ นกระทั่ง ค.ศ. 1947 ที่ได้ม ีก ารแ ปลเป็นภาษาอังกฤษและต ีพิมพ์ในอ เมริกา ผลงานของเขาส่วนม ากจะเน้น
มากในเรื่องเกี่ยวก ับก ารอ อกแบบโครงสร้างแ ละก ารบ ริหารอ งค์การเพื่อให้เกิดป ระสิทธิภาพส ูงสุด ผลง าน ขอ งเวเบอร์
ในส ว่ นท เี่ กีย่ วก บั ก ารจ ดั โครงสรา้ งอ งคก์ าร ภาวะข องผ ูน้ ำในอ งคก์ าร และก ารบ รหิ ารต ามห ลกั ข องค วามส มเหตสุ มผลน ี้
รวมก นั ไดเ้ปน็ ภ าพข องอ งคก์ ารท เี่ รียกว า่ ระบบร าชการ (bureaucracy) อันเป็นอ งคก์ ารในอ ดุ มค ตขิ องเวเบอร์ องคก์ าร
ระบบราชการตามอุดมคติของเวเบอร์นี้ไม่ได้หมายถึงระบบเช้าชามเย็นชามหรือระบบที่ไม่มีประสิทธิภาพซึ่งมักจะ
ขนานนามให้กับระบบราชการของเราในปัจจุบัน แต่ระบบราชการตามอุดมคติของเวเบอร์เป็นโครงสร้างซึ่งเขาเชื่อว่า
จะใช้ได้อ ย่างมีประสิทธิภาพที่สุด โดยเฉพาะกับองค์การท ี่มีขนาดใหญ่และม ีความซับซ ้อนของง านม าก องค์ประกอบ
ของระบบร าชก ารของเวเบอร์ พอส รุปได้ดังนี้15
1. จะต้องมีการก ำหนดห น้าที่แยกจากกันต ามความช ำนาญเฉพาะด ้าน โดยจ ะมีการก ำหนดขอบเขตข องง าน
แต่ละงานอย่างชัดเจนและกำหนดอ ำนาจห น้าที่เพื่อที่จะปฏิบัติงานนั้นได้ลุล่วง ดังนั้น หลักการเกี่ยวกับการแบ่งงาน
จึงเป็นองค์ประกอบส ำคัญของร ะบบราชการ
2. จะต อ้ งม กี ารก ำหนดส ายก ารบ งั คบั บ ญั ชาอ ยา่ งเปน็ ท างการ ในส ายก ารบ งั คบั บ ญั ชาซ ึง่ ก ำหนดข ึน้ ในอ งคก์ าร
นี้จะแสดงการแบ่งระดับของอำนาจหน้าที่ลดหลั่นจากเบื้องบนลงสู่เบื้องล่าง ผู้ที่อยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าจะรับคำสั่ง
จากผู้ที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่า อย่างไรก็ดีอำนาจหน้าที่ดังกล่าวจะใช้ได้เฉพาะเมื่อปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ต่างๆ
เท่านั้น ถ้านอกเวลาการปฏิบัติงานขององค์การแล้ว บุคคลจะมีอิสระและไม่ต้องปฏิบัติตนตามสายการบังคับบัญชา
ขององค์การ
3. ผู้ที่อยู่ในตำแหน่งหน้าที่ต่างๆ จะถือเป็นพนักงานคนหนึ่งเท่าน้ัน กล่าวคือ สิทธิในการที่จะบริหารหรือ
ปฏิบัติห น้าที่จ ะถูกกำหนดให้ไว้กับต ำแหน่งไม่ใช่ก ำหนดให้ก ับผ ู้ท ี่อ ยู่ในตำแหน่ง ดังนั้น จึงไม่มีหนทางท ี่บ ุคคลอื่นใด
แม้ก ระทั่งผู้ที่เป็นเจ้าของจ ะได้รับสิทธิท ี่ก ำหนดไว้ตามต ำแหน่ง ยกเว้นแ ต่จ ะเป็นผู้ปฏิบัติห น้าที่อ ยู่ในต ำแหน่งน ั้น
4. การคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานและการเลื่อนตำแหน่งให้สูงข้ึน จะต้องอาศัยหลักของความสามารถซึ่งวัด
ได้จากผลการปฏิบัติงานในตำแหน่งหรือจากการได้รับการฝึกอบรม และจะไม่มีการให้ออกจากงานอย่างไม่มีหลักมี
เกณฑ์
5. จะต อ้ งม กี ารก ำหนดก ฎแ ละร ะเบยี บต า่ งๆ อยา่ งช ดั แ จง้ กฎแ ละร ะเบียบน ี้จ ะท ำให้เกิดก ารป ฏิบัติง านท ี่เป็น
มาตรฐาน เกิดความเป็นธรรม และทำให้สมาชิกขององค์การอยู่ในระเบียบวินัย และการดำเนินการขององค์การเป็น
ไปได้อ ย่างต่อเนื่อง
6. ในก ารป ฏบิ ตั งิ านต า่ งๆ นน้ั จ ะต อ้ งไ มอ่ งิ ค วามส มั พนั ธส์ ว่ นบ คุ คล กล่าวค ือ ไม่ว ่าจ ะเป็นการต ิดต่อร ะหว่าง
ผู้บ ังคับบ ัญชาก ับผ ู้ใตบ้ ังคับบ ัญชา หรือก ารต ิดต่อร ะหว่างเพื่อนในห น่วยง าน อื่นๆ ในอ งค์การเดียวกัน หรือก ารต ิดต่อ
ระหว่างองค์การกับลูกค้า จะต้องเป็นการติดต่อที่ไม่อิงความสัมพันธ์ส่วนบุคคล โดยจะต้องทำการติดต่ออย่างเป็น
ทางการซึ่งมีร ะเบียบควบคุมเพื่อจ ะได้ม ีการบันทึกเป็นหลักฐานไว้ต รวจส อบและติดตามได้
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช