Page 14 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 14

2-12 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

ผลง​ าน​ของ​เฮน​ รี แอล แก​นท์ (1861-1919)

       ผสู​้ นบั สนนุ แ​ นวคดิ ข​ องก​ ารจ​ ดั การเ​ชงิ ว​ ทิ ยาศาสตรอ​์ กี ท​ า่ นห​ นึง่ ซึง่ ต​ อ้ งก​ ลา่ วถ​ งึ คอื เฮน​ รี แอล แกน​ ท์ (Henry
L. Gantt) ผู้​มี​สถานภาพข​ องว​ ิชาชีพเ​ป็น​ทั้งค​ รู​และว​ ิศวกร ใน​ปี 1887 ได้​ร่วม​งานก​ ับเ​ทย์​เลอร​ ์ท​ ี่ Midvale Steel Co.
และต​ ่อม​ าไ​ด้เ​ป็นผ​ ู้ต​ ิดต​ ามเ​ทย์เ​ลอร​ ์ไ​ปท​ ำงานใ​นส​ ถานะต​ ่างๆ และร​ วมท​ ั้งส​ ถานะข​ องท​ ี่ป​ รึกษา หลังจ​ ากท​ ี่เ​ทย์เ​ลอร​ ์อ​ อก​
จาก Midvale ใน​ปี 1890 และ​เกษียณต​ ัวเ​องใ​นป​ ี 1900

       หลังจ​ ากท​ ี่แ​ ยกต​ ัวจ​ ากเ​ทย์เ​ลอร​ ์อ​ อกม​ าเ​ป็นว​ ิศวกรท​ ี่ป​ รึกษาอ​ ิสระ แกน​ ท์ไ​ด้ล​ ้มเ​ลิกก​ ารส​ นับสนุนต​ ่อร​ ะบบก​ าร​
จ่าย​ค่า​ตอบแทน​จาก​ชิ้น​งาน (differential rate system หรือ piece-rate system) โดย​เสนอ​ให้​ใช้​ระบบ​การ​จ่าย​
โบนัส (bonus system) แทน

       ตาม​แนวคิด​ของ​การ​จ่าย​ค่า​ตอบแทน​จาก​ชิ้น​งาน​ของ​เทย์​เลอ​ร์ คน​งาน​ซึ่ง​สามารถ​สร้าง​ผลผลิต​ได้​เกิน​จาก​
มาตรฐาน​ที่​กำหนด​จะ​ได้​รับ​การ​จ่าย​ค่า​ตอบแทน​ที่​สูง​กว่า​คน​งาน​ที่​ทำได้​ต่ำ​กว่า​มาตรฐาน สำหรับ​การ​จ่าย​ค่า​ตอบแทน​
ตาม​แนวคิด​ของ​แก​นท์ คน​งาน​ซึ่ง​สามารถ​ทำงาน​ได้​ตาม​ภาระ​งาน​ที่​กำหนด​ไว้​ใน​แต่ละ​วัน​จะ​ได้​รับ​โบนัส 50 cents
สำหรับ​หัวหน้า​คน​งาน​ซึ่ง​สามารถ​ผลัก​ดัน​ให้​คน​งาน​แต่ละ​คน​ทำงาน​ได้​ตาม​เป้า​หมาย​ที่​กำหนด​ใน​แต่ละ​วัน​ก็​จะ​ได้​รับ​
เงิน​โบนัส และ​จะไ​ด้​รับเ​งินโ​บนัส​เพิ่มพ​ ิเศษอ​ ีก​ต่าง​หากถ​ ้าค​ น​งานท​ ุก​คนภ​ าย​ใต้ก​ าร​บังคับบ​ ัญชาข​ อง​เขา​สามารถ​ทำงาน​
ได้ต​ ามเ​ป้าห​ มายท​ ี่ก​ ำหนดใ​นแ​ ต่ละว​ ันด​ ้วย การจ​ ่ายค​ ่าต​ อบแทนต​ ามร​ ะบบโ​บนัสน​ ี้ แกน​ ท์เ​ชื่อว​ ่าจ​ ะท​ ำให้ห​ ัวหน้าค​ นง​ าน​
มีก​ ำลัง​ใจท​ ี่​จะส​ อน​งานใ​ห้​คนง​ าน​ทำงาน​ให้ด​ ีข​ ึ้น​กว่าเ​ดิม

       นอก​เหนือ​จาก​นั้น แก​นท์​ยัง​เสนอ​ให้​มี​การ​จัด​อันดับผ​ ล​งานข​ อง​คนง​ านอ​ ย่าง​เปิดเ​ผย​ให้​คนง​ าน​ทุก​คน​ได้​รับร​ ู้
โดยไ​ด้​ใช้ผ​ ัง​ภูมิแ​ ท่ง (bar chart) มา​แสดง​ผลง​ านข​ องค​ นง​ าน​แต่ละค​ น ใน​วัน​ที่​คน​งานส​ ามารถผ​ ลิตไ​ด้​ตามม​ าตรฐาน​
จะ​แสดง​ด้วย​แท่ง​สี​ดำ ใน​วัน​ที่​ไม่​สามารถ​ผลิต​ได้​ตาม​มาตรฐาน​ก็​จะ​ใช้​แทน​ด้วย​แท่ง​สี​แดง นอกจาก​นี้​ยัง​ได้​หลัก​การ​
เดียวกัน​นี้​ใน​การ​กำหนด​ตาราง​เวลา​ใน​การ​ผลิต ซึ่ง​เทคนิค​ดัง​กล่าว​ใน​ปัจจุบัน​นิยม​ใช้​กัน​อย่าง​แพร่​หลาย และ​เป็น​ที่​
รู้จัก​กันใ​นช​ ื่อ ผังภ​ ูมิ​แก​นท์ (Gantt Chart)

  กจิ กรรม 2.1.1
          1. 	แก่น​ของ​แนวคิด​การ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์​กล่าว​ว่า​อย่าง​ใด สามารถ​นำ​มา​ประยุกต์​ใช้​กับ​หน้าท่ี​

  ทางการบ​ ริหารไ​ดอ้​ ย่างไร
          2. 	หลกั ​การข​ อง​แนวคิดก​ ารจ​ ัดการ​เชิงว​ ิทยาศาสตร์​ตาม​ท่เ​ี ทย​์เลอ​รเ​์ สนอม​ อ​ี ะไรบ​ า้ ง

  แนว​ตอบก​ จิ กรรม 2.1.1
          1. 	แกน่ ข​ องแ​ นวคดิ ข​ องก​ ารจ​ ดั การเ​ชงิ ว​ ทิ ยาศาสตรน​์ ก​้ี ลา่ วว​ า่ เราส​ ามารถจ​ ะใ​ชห​้ ลกั ก​ ารท​ างว​ ทิ ยาศาสตร​์

  ช่วย​ใน​การ​ศึกษา​วิเคราะห์​งาน​ใดๆ ได้​เสมอ เม่ือ​มอง​ใน​เชิง​ประยุกต์​กับ​หน้าที่​ทางการ​บริหาร​อาจ​จะ​กล่าว​ได้​ว่า
  ผบ​ู้ รหิ ารไ​มค​่ วรท​ จ​ี่ ะใ​ชว​้ ธิ ก​ี ารแ​ บบล​ องผ​ ดิ ล​ องถ​ กู แตค​่ วรใ​ชห​้ ลกั ข​ องค​ วามส​ มเ​หตส​ุ มผ​ ล และใ​ชก​้ ารศ​ กึ ษาว​ เิ คราะห​์
  ตามห​ ลกั ​ทางว​ ิทยาศาสตร์ (หลักเ​กณฑท์​ ี​่แน่นอน) ใน​การ​แกป​้ ญั หา​ตา่ งๆ ทป่ี​ ระสบอ​ ยู่

          2. 	หลกั ก​ ารท​ เ​่ี ทยเ​์ ลอร​ ​์เสนอ มด​ี งั น้ี
              2.1 	การห​ าว​ ธิ ​ีท่ี​ดี​ทสี่ ุด​วิธีเ​ดยี ว
              2.2 	การค​ ัด​เลอื กค​ น​งานโ​ดย​ใช​้หลักท​ าง​วิทยาศาสตร์
              2.3 	การ​ใช้​ระบบจ​ ูงใจ​ด้วยต​ ัว​เงนิ
              2.4 	การเ​น้นค​ วามช​ ำนาญเ​ฉพาะด​ ้าน

                             ลขิ สิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19