Page 11 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 11

ทฤษฎี​องค์การ​และก​ าร​จัดการ 2-9

       การป​ ฏิวัตทิ​ างอ​ ุตสาหกรรม (industrial revolution) ได​้นำม​ าซ​ ึ่งก​ ารเ​ปลี่ยนแปลงข​ องร​ ะบบอ​ ตุ สาหกรรมจ​ าก​
ระบบท​ ี่ใ​ช้ก​ าร​ผลิตด​ ้วย​มือ​ใน​อุตสาหกรรม​ครัวเ​รือน (household industry) เป็น​ส่วน​ใหญ่​มาเ​ป็น​ระบบท​ ี่​ต้อง​อาศัย​
เครื่องจักร​เข้า​ช่วย​ใน​การ​ทำงาน ปัญหา​ที่​ตาม​มา​ก็​คือ​ความ​ไม่​สามารถ​ที่​จะ​ปรับ​ตัว​ของ​คน​งาน​แต่ละ​คนใน​การ​ทำงาน​
ร่วมก​ ันใ​นโ​รงงาน และ​ความ​ไม่​สามารถ​ในก​ ารใ​ช้เ​ครื่องจักร​ซึ่ง​ได้​จัด​ไว้​ให้ใ​ช้​แทน​การท​ ำงานด​ ้วย​มือ ซึ่งช​ ่าง​ฝีมือ​แต่ละ​
คนม​ ี​ความ​ถนัดไ​ด้อ​ ย่าง​มี​ประสิทธิภาพ คน​งานแ​ ทนที่จ​ ะ​ใช้​เครื่องจักรท​ ี่​จัด​ไว้​ให้จ​ ึงม​ ัก​จะห​ ัน​มาใ​ช้​เครื่องม​ ือ ซึ่ง​แต่ละ​
คนจ​ ัดหาม​ าใ​ชต้​ ามค​ วามช​ อบแ​ ละถ​ นัดข​ องแ​ ต่ละค​ น มาตรฐานก​ ารท​ ำงานข​ องเ​ครื่องจักรจ​ ึงข​ ึ้นอ​ ยูก่​ ับค​ วามต​ ้องการแ​ ละ​
ความเ​คยชินใ​นก​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านข​ องแ​ ต่ละบ​ ุคคล การเ​รียนร​ ูเ้​กี่ยวก​ ับง​ านเ​ป็นไ​ปอ​ ย่างไ​ม่มรี​ ะบบแ​ ละม​ ักจ​ ะเ​รียนร​ ูโ้​ดยก​ าร​
สังเกต​จาก​การ​ทำงาน​ของ​คน​งาน​ที่​มี​ความ​ชำนาญ​แล้ว​เป็น​สำคัญ หัวหน้า​งาน​ซึ่ง​เป็น​ตำแหน่ง​ที่​มี​ความ​สำคัญ​ใน​ขณะ​
นั้น​ได้​รับ​มอบ​อำนาจ​หน้าที่​อย่า​งก​ว้างๆ ซึ่ง​รวม​ถึง​การ​ตัดสิน​ใจ​เกี่ยว​กับ​การ​คัด​เลือก​คน​งาน การ​เลิก​จ้าง​คน​งาน​และ​
การ​กำหนด​ระยะ​เวลา​สำหรับ​การ​พัก​ผ่อน การ​ทำงาน​ของ​ตำแหน่ง​ที่​สำคัญๆ นี้​เป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​เรียก​ว่า​รับ​ผิด​ชอบ​
เบ็ดเสร็จ โดย​ไม่มี​การ​แยก​จาก​กัน​ระหว่าง​งานการ​วางแผน​ที่​ต้อง​ใช้​ความ​คิด​กับ​งานการ​ปฏิบัติ​การ​ที่​ต้อง​ใช้​แรงงาน
ทำให้ก​ ารต​ ัดสินใ​จข​ องผ​ ู้อ​ ยู่ใ​นต​ ำแหน่งส​ ำคัญน​ ี้เ​ป็นไ​ปอ​ ย่างไ​ม่มีร​ ะบบ และข​ าดป​ ระสิทธิภาพ ฝ่ายท​ ี่เ​ป็นเ​จ้าของท​ ุนเ​อง​
ไมส่​ ามารถท​ ีจ่​ ะแ​ กป้​ ัญหาข​ องก​ ารท​ ำงานร​ ่วมก​ ันข​ องค​ นจ​ ำนวนม​ ากใ​นร​ ะบบโ​รงงานไ​ด้ การแ​ กป้​ ัญหาข​ องฝ​ ่ายจ​ ัดการแ​ ม​้
จะไ​ดม้​ กี​ ารก​ ำหนดโ​ครงสร้างข​ องอ​ งค์การ กำหนดค​ วามส​ ัมพันธร์​ ะหว่างอ​ ำนาจห​ น้าทีแ่​ ละค​ วามร​ ับผ​ ิดช​ อบ และก​ ำหนด​
ระเบียบว​ ิธีก​ ารท​ ำงานต​ ่างๆ รวมท​ ั้งม​ ีค​ วามพ​ ยายามใ​นก​ ารจ​ ัดร​ ะบบข​ องโ​รงงานเ​พื่อป​ ระสานค​ วามพ​ ยายามข​ องค​ นง​ าน​
ให้​ทำงาน​ร่วม​กัน​ได้ แต่​ความ​พยายาม​ใน​การ​แก้​ปัญหา​ก็​เป็น​ใน​ลักษณะ​ที่​ตั้ง​อยู่​บน​พื้น​ฐาน​ที่​ไม่​ถูก​ต้อง​และ​รอบคอบ​
นัก เช่น ไมไ่​ด้ม​ ีก​ ารใ​ห้ค​ วามส​ นใจใ​นป​ ัญหาข​ องก​ ารป​ รับต​ ัวข​ องค​ นง​ านจ​ ากร​ ะบบท​ ี่ท​ ำด​ ้วยม​ ือเ​ป็นร​ ะบบท​ ี่ใ​ช้เ​ครื่องจักร
ปญั หาข​ องก​ ารม​ ข​ี วญั ก​ ำลงั ใ​จตำ่ ใ​นก​ ารท​ ำงานอ​ นั เ​ปน็ ผ​ ลม​ าจ​ ากก​ ารเ​ปลีย่ นแปลงไ​ปใ​ชร​้ ะบบเ​ครือ่ งจกั รม​ ป​ี รากฏอ​ ยทู​่ ัว่ ไป
และ​ปัญหา​ของค​ วามร​ ู้สึกท​ ี่ไ​ม่ม​ ั่นคงข​ อง​คน​งานซ​ ึ่งเ​กิด​จากก​ ารท​ ำ​ตามอ​ ำเภอใ​จ​ของ​เจ้าของ​ทุน

       ปัญหา​ต่างๆ เหล่า​นี้​เป็น​ผล​ทำให้​เกิด​แนวคิด​การ​จัดการ​ขึ้น​ใหม่​เรียก​ว่า แนวคิด​การ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์
โดยแ​ กน่ ข​ องแ​ นวคดิ ท​ างการจ​ ดั การเ​ชงิ ว​ ทิ ยาศาสตรน​์ เี​้ กดิ จ​ ากค​ วามค​ ดิ ข​ องเ​ฟร​ ดเ​ดอ​ รค​ิ วนิ ส​ โ​ลว์ เทยเ์ ลอร์ (Frederick
W. Taylor) ผู้ซ​ ึ่งไ​ด้ร​ ับก​ าร​ยอมรับ​ให้เ​ป็นบ​ ิดา​หรือผ​ ู้นำ​ของแ​ นวคิดก​ าร​จัดการเ​ชิง​วิทยาศาสตร์

ผลง​ า​นข​อง​เฟ​รดเ​ด​อริ​ด วิน​ส​โลว์ เทย์​เลอ​ร์ (1856-1915)

       แก่นข​ องค​ วามค​ ิดใ​นแ​ นวคิดก​ ารจ​ ัดการเ​ชิงว​ ิทยาศาสตร์​นั้นก​ ล่าวว​ ่า ในก​ ารท​ ำงาน​ใดก​ ็ตามจ​ ะส​ ามารถ​ใช้ห​ ลัก​
ทาง​วิทยาศาสตร์​เข้า​ช่วย​ใน​การ​ศึกษา​วิเคราะห์​เกี่ยว​กับ​งาน​นั้นๆ ได้​เสมอ โดย​เฉพาะ​งาน​ใน​ระดับ​ที่​ต้อง​ปฏิบัติ​โดย​
คน​งาน เทย์เ​ลอร​ ์​เชื่อ​ว่าการ​วิเคราะห์​ข้อมูล​ซึ่งเ​ก็บจ​ ากส​ ถานท​ ี่ป​ ฏิบัติก​ ารโ​ดยใ​ช้​หลักท​ างว​ ิทยาศาสตร์จ​ ะท​ ำให้​สามารถ​
ค้นหาว​ ิธี​การ​ทำงาน​ที่​ดีท​ ี่สุดว​ ิธี​เดียวไ​ด้ จากผ​ ลง​ านข​ อง​เทย์เ​ลอ​ร์ โดย​เฉพาะ​ผลง​ านเ​ขียน​เรื่อง Shop Management 
และ The Principles of Scientific Management พอ​จะ​สรุป​เกี่ยว​กับ​แนวคิด​การ​จัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์* ซึ่ง
​เทย์​เลอ​ร์​เสนอไ​ว้เ​ป็น​หลัก​การท​ ี่ส​ ำคัญ 4 หลัก​การ​ได้ ดังนี้2

       1. 	การห​ าว​ ธิ ท​ี ด​่ี ท​ี ส่ี ดุ (one best way) ในก​ ารท​ ำงาน ฝ่ายบ​ ริหารจ​ ะต​ ้องท​ ำการส​ ังเกตแ​ ละร​ วบรวมข​ ้อมูลอ​ ย่าง​
เป็นร​ ะบบเ​กี่ยวก​ ับก​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านข​ องง​ านห​ นึ่งง​ านใ​ดไ​วเ้​พื่อค​ ้นหาว​ ิธที​ ีด่​ ที​ ี่สุดใ​นก​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านแ​ ต่ละง​ าน ซึ่งจ​ ะต​ ้องร​ วม​
ถึง​กฎ​ของก​ าร​เคลื่อนไหว การ​กำหนด​มาตรฐาน​ของง​ านแ​ ละ​การม​ ี​สภาวะ​แวดล้อม​ของ​งานท​ ี่เ​หมาะ​สม

         *คำ​ว่า​วิ​ทยา​ศาต​ร์​ใน​ที่​นี้ หมาย​ถึง การ​ศึกษา​ทุก​สิ่ง​อย่าง​เป็น​ระบบ มิใช่​ใน​ความ​หมาย​ของ​วิทยาศาสตร์​ที่แท้​จริง ซึ่ง​ต้อง​ทดสอบ​เชิง​
ประจักษ์ว​ าท

                              ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16