Page 12 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 12

2-10 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

       2. 	การ​คัด​เลือก​คน​งาน​โดย​ใช้​หลัก​การ​และ​หลัก​เกณฑ์​ท่ี​แน่นอน ใน​หลัก​การ​ข้อ​นี้​ได้​เสนอ​ให้​ทำการ​คัด​เลือก​
คน​งาน​โดย​อาศัย​หลัก​การ​ทาง​วิทยาศาสตร์ และ​หลัง​จาก​นั้น​จึง​ให้​มี​การ​พัฒนา​คน​งาน​เพื่อ​ความ​ก้าวหน้า​ต่อ​ไป จาก​
หลักก​ ารน​ ีจ้​ ึงต​ ้องม​ กี​ ารค​ ้นหาข​ ีดค​ วามส​ ามารถแ​ ละข​ ้อจ​ ำกัดข​ องค​ นง​ านแ​ ต่ละค​ น โอกาสท​ ีค่​ นง​ านแ​ ต่ละค​ นจ​ ะไ​ดร้​ ับก​ าร​
พัฒนา​และ​จัด​ให้ม​ ีก​ าร​ฝึกอ​ บรม​คนง​ าน​ตาม​ความ​จำเป็น

       3. การจ​ ดั ใ​หม​้ ก​ี ารจ​ งู ใจด​ า้ นก​ ารเ​งนิ เทยเ​์ ลอร​ ร์​ วู​้ ่าการจ​ ดั ค​ นใ​หต้​ รงก​ บั ง​ านเ​พยี งอ​ ย่างเ​ดยี วจ​ ะไ​มเ​่ ปน็ การป​ ระกัน​
ว่าจ​ ะไ​ด้ร​ ับผ​ ลผลิตท​ ี่ส​ ูง ดังน​ ั้น จึงม​ ีค​ วามจ​ ำเป็นท​ ี่จ​ ะต​ ้องจ​ ูงใจค​ นง​ าน เพื่อใ​ห้ท​ ำงานใ​ห้ด​ ีท​ ี่สุดแ​ ละป​ ฏิบัตติ​ ามค​ ำส​ ั่งข​ อง​
หัวหน้าค​ นง​ านโ​ดยเ​คร่งครัด โดยเ​ทย์เ​ลอร​ ์เ​ห็นว​ ่า ปัญหาข​ องน​ ักท​ ฤษฎีอ​ งค์การเ​กี่ยวก​ ับก​ ารจ​ ัดโ​ครงสร้างข​ องอ​ งค์การ​
และ​การ​จัด​แบ่ง​งาน​นั้น​เป็น​เพียง​ครึ่ง​หนึ่ง​ของ​ปัญหา​เท่านั้น อีก​ครั้ง​หนึ่ง​นั้น​จะ​ต้อง​คำนึง​ถึง​วิธี​การ​ที่​จะ​ทำให้​คน​งาน​
สามารถ​ทำงาน​ที่​ได้​รับ​มอบ​ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ​ด้วย ดัง​นั้น จึง​ได้​เสนอ​ให้​มี​การ​ใช้​ระบบ​จูงใจ​ด้าน​การ​เงิน​โดย​ให้​
คน​งาน​แต่ละ​คน​จะ​ได้​รับ​การ​จ่าย​ค่า​ตอบแทน​เป็น​สัดส่วน​โดยตรง​กับ​ผลผลิต​ของ​แต่ละ​คน (piece work system)
แทนก​ าร​จ่าย​ค่าแรง​งานต​ าม​ชั่วโมงท​ ี่ท​ ำงาน

       4. 	การ​แยก​ฝ่าย​บริหาร​จาก​ฝ่าย​ปฏิบัติ​การ หลัก​การ​ข้อ​สุดท้าย​นี้​เทย์​เลอ​ร์​ได้​เรียก​ร้อง​ให้​มี​การ​แบ่ง​งาน​กัน​ทำ
โดยแ​ บ่งห​ น้าที่​ระหว่างฝ​ ่าย​จัดการแ​ ละ​ฝ่าย​ปฏิบัติแ​ ยก​จากก​ ันโ​ดย​ให้​มี​การ​เน้นค​ วามช​ ำนาญ​เฉพาะ​ด้าน​สำหรับห​ ัวหน้า​
คน​งาน กล่าว​คือ ฝ่าย​จัดการ​จะ​เป็น​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​งาน​ทั้งหมด​ด้าน​การ​วางแผน ส่วน​ฝ่าย​ปฏิบัติ​จะ​รับ​ผิด​ชอบ​เฉพาะ​
ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​ปฏิบัติ​งาน และ​เทย์​เลอ​ร์​ได้​เสนอ​ให้​มี​การ​ใช้​หัวหน้า​คน​งาน​ที่​มี​ความ​รู้​ ความ​ชำนาญ​เฉพาะ​ด้าน
โดย​ให้​แต่ละ​คน​รับ​ผิด​ชอบ​เป็นการ​เฉพาะ​ใน​แต่ละ​แง่​มุม​ของ​งาน​ซึ่ง​คน​งาน​จะ​ต้อง​ปฏิบัติ เช่น คน​หนึ่ง​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​
การ​หาความ​เร็ว​ที่สุด​ของ​เครื่องจักร​ใน​การ​ทำงาน อีก​คน​หนึ่ง​รับ​ผิด​ชอบ​ด้าน​การ​กำหนด​ลำดับ​ความ​สำคัญ​ก่อน​หลัง​
ของง​ าน และ​อีกค​ น​หนึ่งร​ ับ​ผิดช​ อบ​ใน​ด้านก​ าร​ตรวจ​สอบ​และป​ ระเมินผ​ ล​ของง​ าน เป็นต้น ใน​การ​นี้​คน​งานจ​ ะ​รับคำส​ ั่ง​
จากห​ ัวหน้าค​ นง​ านท​ ีม่​ คี​ วามช​ ำนาญเ​ฉพาะด​ ้านแ​ ต่ละค​ น เช่น ถ้าเ​ป็นเ​รื่องเ​กี่ยวก​ ับก​ ารว​ างแผนก​ จ็​ ะร​ ับคำส​ ั่งจ​ ากห​ ัวหน้า​
คน​งาน​ที่​รับ​ผิด​ชอบ​ด้าน​วางแผน ถ้า​เป็น​เรื่อง​ตรวจ​สอบ​และ​ประเมิน​ผล​ก็​จะ​รับคำ​สั่ง​จาก​หัวหน้า​คน​งาน​ที่​มี​ความ​
ชำนาญ​ด้านน​ ั้น

       จาก​หลัก​การ​ที่​เทย์​เลอ​ร์​เสนอ​ข้าง​ต้น​หาก​จะ​มอง​ใน​แง่​ของ​นัก​ทฤษฎี​องค์การ​ซึ่ง​เน้น​ปัญหา​เกี่ยว​กับ​การ​จัด​
โครงสร้าง​องค์การ และ​ปัญหา​เกี่ยว​กับ​การ​จูงใจ​ให้​คน​งาน​ปฏิบัติ​งาน​ให้​สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​องค์การ
(compliance) ก็​อาจ​กล่าว​ได้​ว่า​ผล​งาน​ของ​เทย์​เลอ​ร์​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​ความ​คิด​ด้าน​การ​จัดการ​มาก กล่าว​คือ ใน​แง่​
ของ​โครงสร้าง​องค์การ แม้​จะ​ไม่​ได้​เน้น​ใน​ปัญหา​โครงสร้าง​ของ​องค์การ​ทั้ง​องค์การ แต่​ก็ได้​เน้น​เกี่ยว​กับ​การ​แบ่ง​งาน​
กันทำ​ใน​ระดับ​ปฏิบัติ ซึ่ง​เทย์​เลอ​ร์​ได้​เสนอ​ให้​มี​การ​ใช้​หัวหน้า​คน​งาน​ที่​มี​ความ​ชำนาญ​เฉพาะ​ด้าน และ​ให้​มี​การ​สังเกต​
และว​ เิ คราะหอ​์ ยา่ งเ​ปน็ ร​ ะบบต​ ามห​ ลกั ก​ ารท​ างว​ ทิ ยาศาสตรเ​์ พือ่ ห​ าว​ ธิ ท​ี ดี​่ ท​ี ีส่ ดุ ใ​นก​ ารท​ ำงาน สำหรบั ป​ ญั หาข​ องก​ ารป​ ฏบิ ตั ​ิ
ใหส​้ อดคลอ้ งก​ ับค​ วามต​ ้องการข​ องอ​ งคก์ ารน​ ั้น เทยเ​์ ลอร​ ก​์ ็ไดเ้​สนอใ​หม​้ กี​ ารใ​ชว​้ ธิ ก​ี ารจ​ ูงใจด​ ้านก​ ารเ​งนิ แ​ ละเ​สนอใ​หม้​ กี​ าร​
ปฏิวัติด​ ้านจ​ ิตใจ​ใหม่ (mental revolution) ในข​ ้อ​เสนอป​ ระการห​ ลังน​ ี้​เขาไ​ด้​กล่าว​ว่า การจ​ ัดการ​เชิง​วิทยาศาสตร์ไ​ม่ใช​่
เป็น​เพียง​เครื่อง​มือ​ซึ่ง​ก่อ​ให้​เกิด​การ​มี​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​ทำงาน​หรือ​เป็น​ระบบ​ที่​จะ​ช่วย​ใน​การ​จ่าย​ค่า​ตอบแทน​ให้​คน​
งาน​เท่านั้น แต่ก​ าร​จัดการ​เชิงว​ ิทยาศาสตร์​นั้น

       “เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ปฏิวัติ​ด้าน​จิตใจ​ทั้ง​ของ​คน​งาน (ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​ปฏิ​บัติ​งาน​ใน​หน้าที่​ของ​คน​งาน
ความส​ ัมพันธ์​ของค​ นง​ านก​ ับเ​พื่อน​ร่วม​งานแ​ ละ​ความร​ ับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​ฝ่ายบ​ ริหาร) และข​ อง​ฝ่าย​บริหารค​ ือ ผู้​จัดการ​และ​
หัวหน้า​งาน โดย​ทั้ง​สอง​ฝ่าย​จะ​ต้อง​เลิก​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​การ​แบ่ง​ผล​ตอบแทน​อัน​เป็น​ผล​จาก​ความ​พยายาม​ใน​การ​
ทำงาน​ร่วม​กัน​ของแต่ละ​ฝ่าย และ​หัน​มา​เน้น​ความ​พยายาม​ร่วม​กัน​ใน​อัน​ที่​จะ​เพิ่ม​ผลผลิต​นั้น จน​กระทั่ง​ผลผลิต​นั้น
มี​จำนวนม​ าก​เกิน​พอกว​ ่าที่จ​ ะ​มาเ​ป็น​ปัญหา​ทะเลาะ​กัน​ว่า​จะแ​ บ่งผ​ ลผลิตก​ ัน​อย่างไร”3

                             ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17