Page 28 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 28
2-26 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
เรอ่ื งที่ 2.2.1
แนวคิดการจ ดั การเชิงม นษุ ยสมั พันธ์
ดังได้กล่าวในต อนท ี่ 2.1 เกี่ยวก ับแนวคิดก ารจัดการยุคคลาสสิก ว่าน ักท ฤษฎีของยุคน ั้นเน้นการศ ึกษาส ่วน
ใหญ่อยู่ในด้านเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์การ และในด้านเกี่ยวกับการออกแบบงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
เท่าที่จะเป็นไปได้ คนงานได้รับการตีค่าในลักษณะที่ไม่แตกต่างไปจากเครื่องจักร ซึ่งผู้บริหารสามารถที่จะคาดหวัง
ให้ปฏิบัติงานใดๆ ได้ตามคำสั่งตราบเท่าที่มีการให้สิ่งจูงใจด้านการเงินอย่างเหมาะสม ด้วยคติฐานนี้ทำให้นักทฤษฎี
ยุคคลาสสิกเพิกเฉยหรือให้ความสำคัญน้อยมากกับตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และหันไปสนใจ
ในป ัญหาท ี่เกี่ยวก ับโครงสร้างข องอ งค์การเป็นส ่วนใหญ่ ดังนั้นในยุคต่อม าจึงได้มีนักทฤษฎีซึ่งหันมาสนใจและศึกษา
เกี่ยวกับปัญหาอีกด้านหนึ่งของทฤษฎีองค์การ นั่นก็คือ ปัญหาเกี่ยวกับการทำให้คนงานยินยอมปฏิบัติตามภารกิจ
หรืองานที่ได้รับมอบให้สำเร็จ ในยุคนี้จึงได้มีการเน้นการศึกษาในปัญหาด้านการจูงใจ การควบคุมและการทำให้
พนักงานยินยอมปฏิบัติตามคำสั่ง และให้ความสนใจกับปัญหาโครงสร้างขององค์การเป็นปัญหาที่สำคัญรองลงมา
การที่นักทฤษฎีองค์การหันมาสนใจในประเด็นเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์มากขึ้นนั้นเป็นผลสืบเนื่องมาจากการ
ทดลองของมาโยที่ฮอร์ธอร์น (Hawthorne) ซึ่งทำให้เกิดแนวคิดการจัดการเชิงมนุษยสัมพันธ์ขึ้นมาซึ่งจะได้นำมา
กล่าวในร ายละเอียดไว้ในเรื่องน ี้
หลังจ ากท ีเ่กิดก ารค ้นพ บข องม าโยท ีฮ่ อ ร์ธอ ร์นป ระกอบก ับส ภาวการณต์ ่างๆ ไดเ้ปลี่ยนแปลงไป เช่น กิจกรรม
ต่างๆ ต้องหันม าเน้นการผ ลิตส ินค้าห ลายชนิดในเวลาเดียวกันแ ละเน้นด้านการวิจัยพัฒนามากขึ้น ทำให้ลักษณะงาน
ของคนงานสมัยถัดจากยุคคลาสสิกเปลี่ยนไปเป็นศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรพฤติกรรมมนุษย์มากขึ้น เป็นผลทำให้เกิด
การพัฒนาเป็นแ นวคิดการจัดการเชิงพ ฤติกรรมศาสตร์เกิดข ึ้นถัดต่อมาจ ากแ นวคิดเชิงม นุษยสัมพันธ์ ซึ่งแนวคิดเชิง
พฤติกรรมศาสตร์นี้จ ะได้นำมากล่าวไว้ในเรื่องท ี่ 2.2.4
แนวคิดเชิงม นุษยสัมพันธ์ → แนวคิดเชิงพฤติกรรมศ าสตร์
ความเป็นม า
แนวคิดเชิงม นุษยสัมพันธ์น ั้นเกิดข ึ้นในร ะหว่างท ศวรรษ 1920 และท ศวรรษ 1930 ในป ระเทศส หรัฐอเมริกา
ในช่วงร ะยะเวลาดังกล่าวม ีการเปลี่ยนแปลงต ่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เช่น มีการอพยพของคนจำนวนมากจ ากช นบทเข้า
สู่ตัวเมือง ทำให้เกิดความจ ำเป็นในก ารที่ค นจะต ้องพึ่งพาอ าศัยก ันและกันม ากขึ้น นอกจากน ี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงใน
ปัจจัยด ้านเทคโนโลยี กล่าวค ือ ได้ม ีก ารนำเครื่องจักรก ลม าใช้ในโรงงานแ ทนแ รงงานค นม ากข ึ้น มีก ารเน้นก ารก ำหนด
มาตรฐานข องง านแ ละก ารแ บง่ ง านก นั ท ำท ัง้ ในร ะดับค นง านแ ละในร ะดับบ รหิ าร การเปลี่ยนแปลงเหลา่ น ีท้ ำใหเ้กิดค วาม
จำเป็นท ี่จะต ้องม ีก ารประสานงานก ันอ ย่างใกล้ช ิด และเกิดความจ ำเป็นท ี่ค นจะต ้องพึ่งพาอาศัยกันและกันโดยไม่อาจ
หลีกเลี่ยงได้
สภาวะแ วดลอ้ มต า่ งๆ ทเ่ี กดิ ข น้ึ นท้ี ำใหน้ กั ว ชิ าการแ ละน กั ทฤษฎขี องย คุ นเ้ี กดิ ค วามค ดิ เหน็ ข ดั แยง้ ก บั หลกั การข อง
นักทฤษฎีย ุคค ลาสส ิก ซึ่งเน้นในป รัชญาเกี่ยวก ับการทำงานหนัก ปัจเจกชนน ิยม (individualism) และก ารแสวงหา
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช