Page 30 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 30
2-28 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
มนุษย์แล้ว จะทำให้สามารถเพิ่มผลผลิตได้ซึ่งในสมัยต่อมาแนวคิดของนักมนุษยสัมพันธ์นี้ได้รับการพิสูจน์ว่าไม่ได้
ถูกต้องทั้งหมดท ีเดียว
กจิ กรรม 2.2.1
จงอ ธบิ ายข ้อแ ตกตา่ งระหวา่ งแนวคิดเชิงมนษุ ยสัมพนั ธ์กบั แนวคิดการจัดการเชงิ ว ิทยาศาสตร์
แนวต อบก จิ กรรม 2.2.1
ข้อแตกตา่ ง
การจดั การเชิงวิทยาศาสตร์ การจดั การเชงิ มนุษยสมั พันธ์
• เนน้ การจัดระเบียบความสัมพนั ธ์ของ • เนน้ การศึกษาด้านทัศนคติ คุณคา่ และอารมณ์
ตำแหนง่ งาน หรอื ความรสู้ กึ ของคน
• ใช้หลกั การทางวิทยาศาสตร์ • ใช้หลกั ทางจิตวิทยาสงั คม
• เน้นการควบคุมพฤติกรรมมนษุ ยไ์ มแ่ ตกต่าง • ยดึ หลักการความมีอิสระของมนุษย์
จากเครื่องจักร
เรอ่ื งท ่ี 2.2.2
ผลสรุปจากก ารว ิจยั ท่ีฮ อรธ์ อร์น
เนื่องจากผลงานวิจัยที่ฮอร์ธอร์นของเอลตัน มาโย (1880–1949) และเพื่อนร่วมงานซึ่งเป็นนักสังคมวิทยา
เป็นผลงานซึ่งทำให้เกิดการหันเหความสนใจของนักทฤษฎีมาศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรพฤติกรรมของมนุษย์ในการ
ปฏิบัติงานม ากขึ้น จึงจ ะขอนำกล่าวเกี่ยวก ับก ารวิจัยโดยสรุป โดยแบ่งผลการวิจัยเป็น 4 ระยะต ลอดระยะเวลา 6 ปี
จากป ี 1927–1933 ดังนี้30
การวจิ ยั ระยะแรก
ระยะแรกนี้เป็นระยะที่มีการศึกษาถึงผลกระทบของสภาวะแวดล้อมของการทำงานที่มีต่อผลผลิตของ
คนง าน โดยท ำการท ดลองก บั ก ลุม่ พ นกั งานห ญงิ ก ลุม่ เลก็ ๆ ในข ณะก ำลงั ป ระกอบเครือ่ งร บั โทรศพั ท์ ในข ณะท พี่ นกั งาน
กำลังทำงานนั้น ผู้ว ิจัยได้ทำการทดลองปรับเปลี่ยนสภาพแ สงสว่างภ ายในห้องท ำงานเพื่อดูผ ลกระทบต ่อผลผลิตจาก
การทำงาน ผลของการวิจัยปรากฏว่าไม่ว่าจะเพิ่มหรือลดแสงสว่างภายในห้องอย่างไร ผลผลิตกลับเพิ่มสูงขึ้นทำให้
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช