Page 35 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 35
ทฤษฎีอ งค์การแ ละการจ ัดการ 2-33
นอกจ าก นี้โฟลเล็ตย งั ไดท้ ำการศ กึ ษาป ัญหาค วามข ัดแ ย้งท ีเ่ กิดข ึ้นในก ารบ ริหาร และไดเ้ สนอก ระบวนการเพื่อ
เป็นแนวป ฏิบัติข องผู้บ ริหารในก ารบริหารความขัดแย้ง ดังนี้34
1) การใช้อ ำนาจค รอบงำ (domination)
2) การป ระนีประนอม (compromise)
3) การเชื่อมต่อห รือประสานให้ไปก ันได้ (integration)
ทั้งส องข ้อแ รก นั้นโฟลเล็ตเห็นว ่าจ ะไม่ท ำให้ท ุกฝ ่ายพ อใจ แต่ในข ้อท ี่ส ามห รือในป ระการส ุดท้ายน ั้นจ ะเป็นว ิธี
ที่ทำให้ทุกฝ่ายพอใจได้ อย่างไรก็ดีหลักการเกี่ยวกับการประสานความแตกต่างนี้จะนำมาใช้ได้ก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยน
ความค ิดเกี่ยวก ับเรื่องของอ ำนาจหน้าที่ (authority) และอ ำนาจ (power) เสียใหม่ เช่นในเรื่องของการออกค ำสั่งนั้น
โฟลเล็ตมีความคิดว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดไม่ควรที่จะได้รับมอบอำนาจให้ออกคำสั่งอีกบุคคลหนึ่ง แต่ทั้ง 2 คนนั้น
ควรท ี่จ ะย อมรับท ี่จ ะร ับค ำส ั่งจ ากส ถานการณ์มากกว่า35 นั่นค ือ ทั้งสองฝ ่ายค วรพ ยายามศึกษาส ถานการณ์และป ัจจัย
แวดล้อม และพิจารณาหาเหตุผลจากสถานการณ์น ั้น เมื่อได้พบข้อเท็จจริงแ ล้วค วามขัดแย้งจะไม่เกิดขึ้น นอกจากนี้
ในขณะที่เธอมีบทบาทเป็นรองประธานของสมาคมศูนย์กลางเพื่อชุมชนแห่งชาติ (National Community Center
Association) ยังได้ส ังเกตพบว ่า ความค ิดต่างๆ ซึ่งเกิดจ ากก ระบวนการข องกลุ่ม จะช่วยเพาะห รือสร้างป ฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งค นในก ลุ่มแ ละช ว่ ยใหฝ้ า่ ยจ ดั การบ รรลผุ ลส มั ฤทธิส์ งู สดุ หรอื ก ล่าวอ กี น ยั ห นึ่งไดว้ า่ ไมม่ ผี ใู้ ดส ามารถเปน็ บ คุ คล
ได้อย่างเต็มร ูปแบบ (a whole person) เว้นแต่จ ะเป็นส มาชิกของก ลุ่มเท่านั้น
ผลง านข องบ ารน์ ารด์ (1866-1961)
บารน์ าร์ด เป็นท ั้งน ักว ิชาการแ ละน ักบ ริหารท ีม่ ผี ลง านเป็นท ีร่ ู้จักก ันด ใีนห นังสือท ีเ่ขาเขียนช ื่อ The Function
of the Executive ซึ่งเน้นความคิดในเรื่องของอำนาจห น้าที่ การต ิดต่อสื่อสารและความส ำคัญขององค์การอรูปนัย
และเป็นคนแ รกซ ึ่งเน้นความส ำคัญในส ่วนที่เกี่ยวก ับต ัวแปรต่างๆ ของพ ฤติกรรมบ ุคคลในขณะปฏิบัติง านห ลังจ ากที่
ได้ม ีก ารท ดลองขึ้นท ี่ฮอ ร์ธอ ร์น โดยบ าร์นาร์ด มีความเห็นข ัดแย้งกับคติฐานของแนวค ลาสส ิก ซึ่งมองมนุษย์ว่าเปรียบ
ไดเ้สมือนก ับเครื่องจักรก ลในร ะบบอ งค์การซ ึ่งผ ูบ้ ริหารส ามารถท ีจ่ ะบ ังคับใหป้ ฏิบัตติ ามค ำส ั่งไดโ้ดยใชเ้งินเป็นส ิ่งจ ูงใจ
บาร์น าร์ด มีค วามเห็นว ่าค วามร ่วมแ รงร ่วมใจข องบ ุคคลแ ต่ละบ ุคคลในอ งค์การ และก ารร วมค วามพ ยายามข องบ ุคคล
ต่างๆ เหล่าน ีเ้ข้าเป็นร ะบบข องค วามร ่วมม ือน ับได้ว ่าเป็นอ งคป์ ระกอบห รือม สี ิ่งท ีส่ ำคัญต ่ออ งค์การ โดยเห็นว ่า คนเป็น
ปัจจัยท ี่สำคัญที่สุดในองค์การ ดังน ั้นจ ะต ้องพยายามชักจูงให้ค นหันมาร่วมแ รงร่วมใจก ันท ำงาน มิฉะนั้นก ็จ ะไม่เกิด
ระบบความร ่วมม ือขึ้นแ ละองค์การจะไม่ป ระสบความส ำเร็จ
ในส่วนที่เกี่ยวกับการสร้างการยอมรับเพื่อให้เกิดความร่วมมือในหมู่พนักงานเพื่อให้ร่วมมือปฏิบัติตาม
วัตถุประสงค์ขององค์การนั้น บาร์นาร์ดได้เสนอเป็นหลักการไว้ดังนี้36
1. องค์การจะต้องตระหนักว่า ความเต็มใจของบุคคลที่จะให้ความร่วมมือเป็นสิ่งจำเป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อ
องค์การ
2. ในการที่จะก่อให้เกิดการยอมรับและร่วมมือขึ้นได้นั้น จะต้องทำให้แต่ละบุคคลสละความชอบพอหรือ
ผลป ระโยชน์อันเป็นส ่วนต ่างออกไปในเรื่องนี้ บาร์น าร์ดเห็นว ่าคำสั่งใดๆ จะได้รับการยอมรับน ำไปป ฏิบัติได้ก็ต่อเมื่อ
เกิดก รณีดังต่อไปนี้37
1) จะต้องเป็นที่เข้าใจของผ ู้รับ
2) จะต้องส อดคล้องกับว ัตถุประสงค์ข ององค์การ
3) จะต้องส อดคล้องกับค วามพอใจส่วนบุคคลของผ ู้รับ
4) จะต้องม ีข อบเขตให้ผ ู้รับค ำสั่งป ฏิบัติได้ทั้งค วามส ามารถท างก ายภาพและจิตใจ
ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช