Page 34 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 34
2-32 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
กิจกรรม 2.2.2
1. จงบอกข ้อสรปุ ของผลก ารว ิจยั ท่ฮี อ รธ์ อร์น มาพ อเขา้ ใจ
2. Hawthorne Effect หมายถ งึ อะไร
แนวต อบก ิจกรรม 2.2.2
1. ข้อส รปุ ผลการว ิจัยทฮ่ี อร์ธอร์นของม าโย มีด งั น้ี
มนษุ ยไ์ มใ่ ชเ่ ปน็ ม นษุ ยเ์ ศรษฐศาสตร์ ซงึ่ จ ะใชส้ ง่ิ จ งู ใจด ว้ ยต วั เงนิ อ ยา่ งเดยี วเปน็ ต วั จ งู ใจใหท้ ำงานใหบ้ รรลุ
เปา้ ห มายได้ แตม่ นษุ ยเ์ ปน็ ม นษุ ยส์ งั คม ซงึ่ ต อ้ งพ งึ่ พาแ ละม คี วามส มั พนั ธต์ อ่ ก นั แ ละก นั และพ ฤตกิ รรมข องม นษุ ย์
จะข ึน้ อ ย่กู บั คา่ นิยม ความเชอื่ ถอื และอ ารมณค์ วามร สู้ กึ ท่อี ยใู่ นแต่ละคน
2. Hawthorne Effect หมายถ งึ ผลของก ารวจิ ัยทฮ่ี อรธ์ อร์น ซึง่ เป็นสาเหตุของการท่ีคนทำงานหนกั ขึ้น
ดว้ ยเหตุผลเพราะได้รับความส นใจ และไดพ้ บปะกับสถานการณแ์ ปลกใหม่
เรื่องท ี่ 2.2.3
แนวคดิ การจ ดั การเชิงสงั คมศาสตร์
ผลงานของนักทฤษฎีที่จะกล่าวต่อไปนี้คือ แมรี พาร์คเคอร์ โฟลเล็ต (Mary Parker Follett) เซ็สเตอร์
บารน์ ารด์ (Chester Barnard) และเฮอ ร์เบิรต์ ไซม อน (Herbert Simon) เป็นผ ลง านซ ึง่ ไมส่ ามารถจ ดั เข้าอ ยูใ่นส งั กดั
ของแ นวคิดหรือกลุ่มทฤษฎีอ งค์การใดได้อ ย่างช ัดเจน เพราะผ ลง านข องนักว ิชาการเหล่าน ี้ม ีข อบเขตค รอบคลุมไปใน
แนวคิดต่างๆ หลายแนวหรือหลายกลุ่มด้วยกัน จึงมักจะได้รับการจัดแยกไว้ต่างหากเป็นแนวคิดเชิงสังคมศาสตร์
อย่างไรก ด็ ี เนื่องจากผ ลง านข องน ักท ฤษฎีเหล่าน ี้ เป็นผ ลง านซ ึ่งท ำให้น ักท ฤษฎตี ่างๆ หันเหค วามส นใจม าส ูป่ ัญหาด ้าน
การส ร้างก ารย อมรับให้เกิดข ึ้นในห มู่พ นักงานเพื่อให้ป ฏิบัติง านต ามว ัตถุประสงค์ข องอ งค์การ ไม่ใช่ส นใจเพียงเฉพาะ
ที่ป ัญหาด ้านโครงสร้างข องอ งค์การอ ย่างเดียวเหมือนเช่นก ันน ักท ฤษฎีแ นวค ลาสส ิกจ ึงเห็นว ่าเป็นผ ลง านท ี่น ่าจ ะก ล่าว
ถึงและจะขอนำก ล่าวไว้ในเรื่องน ี้
ผลงานขอ งโฟลเลต็ (1868-1933)
โฟลเล็ตเป็นท ั้งน ักร ัฐศาสตร์แ ละน ักส ังคมวิทยาซ ึ่งได้ให้ความส นใจในด้านข องส ังคมจ ิตวิทยา (social psy-
chology) เป็นอ ย่างม าก ผลงาน ขอ งโฟลเล็ตท ี่สำคัญก ็คือ การนำเอาหลักก ารของยุคคลาสส ิก มาต ีความห รืออ ธิบาย
เพื่อใช้ก ับมนุษย์ โดยได้เสนอหลักการของต นเองในส่วนท ี่เกี่ยวกับก ารประสานง านเป็น 4 หลักก าร คือ33
1. การประสานงานโดยตรงระหว่างผู้ท ี่มีส่วนเกี่ยวข้องก ับความร ับผ ิดชอบ
2. การป ระสานงานในร ะยะแรกเริ่มของง าน
3. การป ระสานงานในล ักษณะแ ลกเปลี่ยนข้อมูลกันและกันในทุกๆ ปัจจัยท ี่เป็นสถานการณ์ข องปัญหา
4. การประสานงานในล ักษณะเป็นกระบวนก ารอ ันต่อเนื่อง
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช