Page 37 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 37
ทฤษฎีอ งค์การแ ละการจ ัดการ 2-35
แนวตอบก ิจกรรม 2.2.3
1. คตฐิ านข องเทยเ์ ลอร น์ นั้ ม องม นษุ ยว์ า่ เปน็ มนษุ ยเ์ ศรษฐศาสตร์ ซงึ่ จ ะพ ยายามแ สวงหาผ ลก ำไรส งู สดุ
ตอ่ ตนเอง และจ ะก ระทำสงิ่ ต่างๆ เพือ่ บ รรลวุ ตั ถุประสงคด์ ังกลา่ ว โดยย ึดหลักของค วามส มเหตุสมผ ล
คตฐิ านข องม าโยข องมนษุ ยใ์นแงจ่ ติ วทิ ยาวา่ เปน็ มนษุ ย์สงั คม ซึ่งมคี า่ นยิ ม ทัศนคติและอ ารมณ์ และจะ
ตอบสนองตอ่ สงิ่ ตา่ งๆ โดยไม่อ ิงหลกั ข องค วามสมเหตสุ มผ ล
คตฐิ านข องไซม อนน น้ั ม องม นษุ ยว์ า่ เปน็ มนษุ ยบ์ รหิ าร ซงึ่ พ ยายามท จี่ ะย ดึ ห ลกั ข องค วามส มเหตสุ มผ ล
และพ ยายามที่จะแสวงหาผ ลตอบแทนท ต่ี นพอใจ แทนท่ีจะแ สวงหาผ ลตอบแทนสูงสดุ
2. เน้นการทำให้ทุกฝ่ายพอใจด้วยวิธีการเชื่อมต่อหรือประสานให้ไปกันได้มากกว่าจะใช้วิธีใช้อาจฝ่าย
บริหารครอบงำ หรอื ใช้ห นทางของก ารป ระนปี ระนอม
เร่อื งท ่ี 2.2.4
แนวคดิ ก ารจดั การเชงิ พฤตกิ รรมศาสตร์
การทดลองที่ฮอร์ธอร์นเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการหันเหความสนใจของนักทฤษฎีองค์การให้มาทำการ
สนใจแ ละว ิเคราะหเ์กี่ยวก ับพ ฤติกรรมม นุษย์ หลังจ ากท ีผ่ ลขอ งก ารท ดลองไดแ้ พรห่ ลายอ อกไปก เ็ป็นท ีย่ อมรับก ันข อง
นกั ท ฤษฎมี ากข ึ้นเรือ่ ยๆ ว่า พฤตกิ รรมม นุษยเ์ป็นเรื่องท มี่ คี วามล ะเอยี ดอ อ่ นแ ละส ลบั ซ บั ซ อ้ นแ ละม อี ิทธพิ ลต อ่ ผ ลผลิต
ของอ งค์การ กล่าวอ ีกน ัยหนึ่งได้ว่า มนุษย์น ั้นไม่ได้เป็นเพียงม นุษย์เศรษฐศาสตร์ ซึ่งเปรียบเหมือนได้กับเครื่องจักร
ที่ส ามารถจ ะบ ังคับให้ท ำงานได้ต ามท ี่อ งค์การต ้องการโดยใช้เงินเป็นส ิ่งล ่อใจ หากแ ต่ม นุษย์เป็นม นุษย์ส ังคมท ี่ม ีค วาม
ต้องการแ ละความปรารถนาซึ่งจะต ้องเป็นหน้าที่ข องฝ ่ายบ ริหารที่จ ะก ำหนดโครงสร้างของอ งค์การแ ละของง านให้เอื้อ
ต่อการสนองตอบความต ้องการแ ละความปรารถนาของม นุษย์ได้
จากแนวคิดของนักทฤษฎีเชิงมนุษยสัมพันธ์นี้ ประกอบกับในช่วงระยะเวลาหลังจากที่ผลการทดลองที่
ฮอร์ธอร์นสิ้นสุดใน ค.ศ. 1933 นั้น ประเทศสหรัฐอเมริกาต้องประสบกับสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ธุรกิจต้องประสบ
ปัญหาของการขาดทุน การว่างงานมีอัตราสูง และขวัญกำลังใจของคนอเมริกันอยู่ในภาวะตกต่ำ ปรัชญาของการ
ทำงานหนักแ ละการเน้นลัทธิปัจเจกชนนิยม ซึ่งเป็นปรัชญาของยุคคลาสสิกไม่สามารถที่จะไปด้วยกันได้กับสภาวะที่
เปลี่ยนไป ดังน ั้น จึงเกิดม ีป รัชญาซ ึ่งเน้นล ัทธิท างส ังคมข ึ้นม าแ ทนที่ล ัทธิป ัจเจกช นน ิยม โดยม ีก ารเน้นให้ค วามส ำคัญ
กับก ลุ่มและการพึ่งพาอ าศัยก ันแ ละกันข องบ ุคคล
นอกจากน ภี้ าวะท ธี่ รุ กจิ ไมส่ ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากเครือ่ งจกั รไดเ้ ตม็ ก ำลงั ก ารผ ลติ ส บื เนือ่ งจากก ารท เี่ ศรษฐกจิ
ตกต่ำ ทำให้ธ ุรกิจต ้องหันไปผลิตส ินค้าชนิดอ ื่นๆ เพิ่มข ึ้น ซึ่งเมื่อป ระกอบก ับความก้าวหน้าท างเทคโนโลยีในส มัยน ั้น
ทำให้ลักษณะของงานมีความแตกต่างไปจากลักษณะของงานสมัยยุคเดิมมาก โดยลักษณะงานสมัยใหม่นี้ต้องการ
ความคิดสร้างสรรค์ในส่วนของพนักงานมากขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงมีนักทฤษฎีองค์การหันมาให้ความสนใจทำการศึกษา
เกี่ยวก ับพ ฤติกรรมกันม ากจนกลายเป็นแนวค ิดเชิงพ ฤติกรรมศาสตร์ต ่อมา
นักทฤษฎีตามแนวคิดเชิงพฤติกรรมศาสตร์นี้มีความคิดเห็นแตกต่างไปจากนักทฤษฎียุคคลาสสิกซึ่งน่าจะ
ตั้งเป็นข ้อส ังเกตได้คือ
ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช