Page 41 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 41
ทฤษฎีองค์การและการจัดการ 2-39
เรอื่ งท ่ี 2.3.1
ลกั ษณะข องทฤษฎีอ งคก์ ารและการจ ดั การสมัยใหม่
จากที่ได้ศึกษาตอนที่ 2.1 และตอนที่ 2.2 พอจะสรุปได้ว่า แนวคิดทางการจัดการหรือทฤษฎีองค์การยุค
คลาสสกิ เนน้ โครงสรา้ งท เี่ ป็นพ ธิ กี าร บนพ ืน้ ฐ านข องห ลกั ก ารเกี่ยวก บั ก ารอ อกก ฎร ะเบยี บว นิ ัยท เี่ ครง่ ครัด การใชอ้ ำนาจ
หน้าที่ล ักษณะร วมอ ำนาจ และการดำเนินก ารตามห ลักก ารของความม ีเหตุและผ ลโดยม ีคติฐานเกี่ยวกับมนุษย์ว่าเป็น
คนเกียจคร้านไมช่ อบท ำงานแ ละจ ำต ้องใชว้ ิธกี ารค วบคุมพ ฤติกรรมม นุษยโ์ดยใกลช้ ิด เพื่อใหเ้กิดค วามม ปี ระสิทธิภาพ
และประสิทธิผลต่อองค์การ ส่วนแนวคิดการจัดการเชิงมนุษยสัมพันธ์และพฤติกรรมศาสตร์นั้น เน้นความสนใจที่
ตัวคน โครงสร้างที่ไม่เป็นพิธีการ ความสัมพันธ์ระหว่างคนในขณะทำงาน และปทัสถานทางสังคมของกลุ่ม โดยมี
คติฐานเกี่ยวกับมนุษย์ว่าเป็นคนรักงาน ขยันขันแข็ง และมีความรับผิดชอบและไม่จำเป็นจะต้องทำการควบคุม
พฤติกรรมของคนโดยใกล้ชิด ด้วยคติฐานนี้ทำให้จุดเน้นการศึกษาเกี่ยวกับการหาสิ่งจูงใจคนให้ยอมรับและร่วมมือ
ปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การเปลี่ยนไปเป็นการศึกษาในแง่บวกมากขึ้น กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่าทฤษฎี
องค์การย ุคคลาสส กิ นั้นเน้นท ีโ่ครงสร้างแ ละส ิ่งจ ูงใจท างเศรษฐกิจ เช่น ตัวเงิน แตน่ ักท ฤษฎอี งค์การเชิงม นุษยส ัมพันธ์
และพฤติกรรมศาสตร์เน้นที่ค วามส ัมพันธ์ร ะหว่างค นและสิ่งจูงใจที่ไม่ใช่ในแง่เศรษฐกิจ
แนวคิดของนักทฤษฎีแนวหลังได้รับทั้งการวิจารณ์ที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยจากนักทฤษฎีทั่วไป พวกที่ไม่
เหน็ ด ว้ ยไดว้ จิ ารณว์ า่ แ นวคดิ ข องน กั ม นษุ ยสมั พนั ธแ์ ละพ ฤตกิ รรมศ าสตรเ์ สนอส ิง่ ซ ึง่ ข ดั แ ยง้ ก บั ค วามเปน็ จ รงิ เนือ่ งจาก
เห็นว่าการเน้นโครงสร้างองค์การที่เป็นทางการและการใช้สิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็น เพราะจาก
หลักการของนักทฤษฎียุคคลาสสิกเกี่ยวกับการจัดแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้านและการเน้นการมี
มาตรฐานของการปฏิบัติงานได้พิสูจน์ให้เห็นเป็นหลักฐานว่าได้ทำให้สังคมพัฒนาก้าวหน้าไปได้และคนในสังคมมี
มาตรฐานค วามเป็นอ ยูท่ ีส่ ูงข ึ้น ดังน ั้น จึงไมเ่ห็นด ้วยท ีจ่ ะใหม้ กี ารล ะทิ้งป รัชญาข องแ นวคิดย ุคค ลาสส ิก และโดยเฉพาะ
ของแ นวคดิ เชงิ ว ทิ ยาศาสตรไ์ป ทา่ มกลางค วามค ดิ เหน็ ข ดั แ ยง้ ข องท ัง้ 2 กลุม่ แ นวคดิ ด งั ก ลา่ วไดเ้ กดิ ม แี นวคดิ ใหมข่ ึน้ อ กี
แนวคิดห นึ่งค ือ แนวคิดเชิงร ะบบ และแ นวคิดเชิงส ถานการณ์ (situational concept) ทั้งส องแ นวคิดน ี้ม ุ่งท ี่จ ะศ ึกษา
เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับความซับซ้อน (complexity) และความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์การ
โดยไม่พ ยายามท ี่จ ะค ้นหาว ิธีท ี่ด ีท ี่สุด ในก ารจ ัดอ งค์การเหมือนเช่นแ นวคิดท ั้งส องแ นวท ี่เกิดข ึ้นก ่อนห น้า โดยแ นวคิด
เชิงระบบนั้นมองว่า การศึกษาเกี่ยวกับองค์การนั้น ควรจะต้องทำการวิเคราะห์ความมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ
เพื่อท ี่จ ักได้ภ าพร วมข องอ งค์การท ี่ถ ูกต ้องไม่ใช่น ำแ ต่ละส ่วนข องค นแ ละห น่วยง านในอ งค์การม าว ิเคราะห์แ ยกจ ากก ัน
และแ นวคิดเชิงส ถานการณ์ซ ึ่งย ึดป รัชญาข องแ นวคิดเชิงร ะบบเป็นพ ื้นฐ านได้เสนอค วามค ิดเกี่ยวก ับก ารม ีป ฏิสัมพันธ์
กันระหว่างสภาวะแวดล้อม เทคโนโลยี โครงสร้างและการจูงใจคนให้ทำงาน โดยเห็นว่าไม่มีวิธีการใดที่ดีที่สุดที่
จะนำมาใช้ได้กับองค์การในทุกสถานการณ์ องค์การที่จะประสบผลสำเร็จจะต้องปรับตัวให้สอดคล้องเข้ากันได้กับ
สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไปเสมอ ซึ่งแนวคิดเชิงระบบจะได้นำมากล่าวในเรื่องที่ 2.3.3 และแนวคิดเชิงสถานการณ์
จะกล่าวไว้ในเรื่องที่ 2.3.4 อย่างไรก็ดีในยุคทฤษฎีองค์การและการจัดการสมัยใหม่นี้ยังมีนักวิทยาศาสตร์ในกลุ่ม
แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์ได้มีพัฒนาการจากเดิม โดยหันไปเน้นใช้ตัวแบบทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการแก้ปัญหา
ของก ารจ ัดการม ากข ึ้น นักท ฤษฎีในก ลุ่มน ี้ภ ายห ลังถ ูกเรียกข านว ่าเป็นแ นวคิดก ารจ ัดการเชิงป ริมาณ (Management
Science) ซึ่งได้ร ับความนิยมน ำม าใช้ในการแ ก้ป ัญหาที่ซ ับซ้อนของโลกธ ุรกิจสมัยใหม่เช่นกัน
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช