Page 46 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 46
2-44 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
5. การล ่มสลายข องร ะบบป ดิ การเป็นระบบป ิดน ั้นมีแนวโน้มที่จะล ่มสลายตัวได้ง ่ายกว่าระบบเปิดเนื่องจาก
ปิดตัวเองจากสิ่งแวดล้อม สำหรับระบบเปิดนั้นมีแนวโน้มที่จะอยู่รอดได้มากกว่า เนื่องจากการปรับตัวให้เข้ากับ
สิ่งแวดล้อม อยู่ต ลอดเวลา
6. การใช้ข้อมูลป้อนกลับ ระบบเปิดนั้นจำเป็นที่จะต้องยึดหลักของการมีข้อมูลป้อนกลับเข้าสู่ระบบ เพื่อ
นำข้อมูลนั้นมาปรับตัวให้ดำเนินอยู่ต่อไปได้อย่างคงที่สม่ำเสมอ การส่งข้อมูลป้อนกลับเข้าสู่ระบบ เช่น ข้อมูล
เกี่ยวกับก ระบวนการต ่างๆ ของร ะบบห รือข ้อมูลท ี่เกี่ยวก ับส ิ่งน ำอ อกจ ากร ะบบจ ะช ่วยให้ส ามารถป รับต ัวได้อ ย่างค งที่
สม่ำเสมอ
7. การม ลี ำดบั ข นั้ ข องร ะบบ ระบบน ัน้ ไมว่ า่ จ ะเปน็ ร ะบบใดก ต็ ามจ ะม ลี ำดับข ัน้ ข องร ะบบซ ึ่งม คี วามส มั พันธต์ อ่
กันเสมอ กล่าวค ือ ระบบใดๆ ก็ตามจ ะป ระกอบไปด ้วยร ะบบย ่อย (subsystem) ในข ณะท ี่ต ัวร ะบบท ี่ป ระกอบไปด ้วย
ระบบย ่อยน ั้นก ็เป็นร ะบบย ่อยข องร ะบบท ี่ใหญ่ก ว่า (supersystem) ด้วย เช่น ถ้าม องอ งค์การว ่าเป็นร ะบบ ระบบย่อย
ของอ งค์การก ค็ ือห น่วยง านต ่างๆ ในอ งค์การ ขณะเดียวกันอ งค์การเองก เ็ป็นร ะบบย ่อยข องร ะบบท ีใ่หญก่ ว่า คือ สังคม
เป็นต้น
หลักการต่างๆ ตามแนวคิดเชิงระบบนี้สามารถน ำไปใช้ได้ทั้งกับองค์การและระบบอ ื่นๆ ที่ไม่ใช่องค์การ การ
ยึดห ลักก ารด ังก ล่าวข ้างต ้นจ ะก ่อป ระโยชน์ในแ ง่ท ี่จ ะช ่วยให้ส ามารถวิเคราะห์แ ละอ ธิบายความส ัมพันธ์ของส ่วนต ่างๆ
ที่มีปฏิสัมพันธ์กันและกันได้อย่างทั่วถึงและชัดแจ้ง อันจะนำประโยชน์ต่อองค์การได้มากกว่า นอกจากนี้ยังช่วยให้
นักบ ริหารไม่ต ้องม องห าวิธีท ี่ด ีที่สุดที่จ ะนำมาใช้ในก ารจัดองค์การ เพราะหลักก ารของแนวคิดน ี้จะเน้นก ารป รับตัวให้
เข้าก ับส ภาวะแ วดล้อม ดังน ั้น ในแ ง่ข องโครงสร้างก ็จ ะเป็นเพียงก ารเน้นห าโครงสร้างท ี่เหมาะส มส อดคล้องก ับส ภาวะ
แวดล้อมเท่านั้น
กิจกรรม 2.3.3
1. หากจ ะน ำแ นวคดิ เชงิ ร ะบบม าป ระยกุ ตใ์ ชก้ บั ก ารบ รหิ ารก จิ การห นง่ึ ก จิ การใดจ ะก อ่ ใหเ้ กดิ ป ระโยชน์
ในดา้ นใดบา้ ง
2. จงเปรียบเทยี บค วามแ ตกต า่ งข องท ฤษฎคี ลาสส ิกกบั ท ฤษฎเี ชิงระบบม าพอเขา้ ใจ
แนวตอบก จิ กรรม 2.3.3
1. การนำเอาแนวคดิ เชงิ ระบบม าประยุกต์ใช้ก บั ก ารบรหิ ารจะก อ่ ให้เกดิ ป ระโยชน์ ดังน้ี
1) ชว่ ยใหเ้ กดิ ก ารเนน้ ว เิ คราะหแ์ ละส รา้ งค วามเขา้ ใจในป ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งก นั ข องห นว่ ยง านต า่ งๆ
ภายในก ิจการ
2) ช่วยทำให้เกิดการเน้นวิเคราะห์และสร้างความเข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างกิจการกับสภาวะ
แวดล้อมภายนอก
2. ทฤษฎียุคคลาสส กิ เน้นก ารวเิ คราะหใ์ นสว่ นย อ่ ยแต่ละส ่วน โดยพยายามแสวงหาผ ลต อบแทนส งู สุด
ของแ ตล่ ะส ว่ นย อ่ ยน นั้ แตท่ ฤษฎเี ชงิ ร ะบบเนน้ ก ารว เิ คราะหใ์ นเชงิ ร วมโดยพ ยายามแ สวงหาผ ลต อบแทนท มี่ คี วาม
เหมาะสมเปน็ ไปได้มากทส่ี ดุ ของส ่วนตา่ งๆ ร่วมก ัน
ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช