Page 47 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 47
ทฤษฎีอ งค์การและการจ ัดการ 2-45
เรื่องท่ี 2.3.4
แนวคิดเชงิ สถานการณ์
แนวคิดเชิงร ะบบซ ึ่งก ล่าวในเรื่องท ี่ 2.3.3 ยอมรับถ ึงค วามส ำคัญข องส ภาวะแ วดล้อมในฐ านะเป็นส ิ่งน ำเข้า ซึ่ง
องคก์ ารจ ะต อ้ งพ จิ ารณาท ำใหส้ ามารถแ กป้ ญั หาข องค วามซ บั ซ อ้ นแ ละต วั แปรเกีย่ วก บั ป จั จยั ส ภาวะแ วดลอ้ มท มี่ อี ทิ ธพิ ล
ต่ออ งค์การในป ัจจุบันได้อย่างม ีประสิทธิภาพ แนวคิดเชิงสถานการณ์นั้นยึดปรัชญาข องแนวค ิดเชิงร ะบบเป็นพื้นฐาน
แต่ก้าวไปไกลกว่าแนวคิดเชิงระบบอีกขั้นหนึ่ง คือ พยายามที่จะทำให้เกิดความสอดคล้องเข้ากันได้ระหว่างสภาวะ
แวดล้อมก ับโครงสร้างข องอ งค์การ นักท ฤษฎตี ามแ นวคิดเชิงส ถานการณจ์ ะก ล่าวว ่าโครงสร้างข องอ งค์การท ีด่ ที ี่สุดน ั้น
จะข ึ้นอ ยู่กับสภาวะแ วดล้อมข ององค์การ กล่าวค ือ ไม่มีโครงสร้างอ งค์การใดจะสามารถน ำมาใช้ได้กับอ งค์การในท ุก
สภาวการณ์ ตามแ นวคิดน ีเ้ห็นว ่าในบ างก รณโีครงสร้างในล ักษณะท ีเ่ป็นร ะบบเปิด หรือโครงสร้างท ีไ่มเ่ป็นพ ิธีการ หรือ
โครงสร้างในล ักษณะย ืดหยุ่นก ็อ าจใช้ได้อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพ แต่ในบ างก รณีโครงสร้างท ี่เป็นร ะบบป ิด หรือโครงสร้าง
ที่เป็นพ ิธีการ และไมย่ ืดหยุ่นก ็ส ามารถน ำม าใช้ได้อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพได้เช่นก ัน นอกจากน ี้ในอ งค์การห นึ่งอ งค์การใด
นั้นอาจจะท ำโครงการส ร้างองค์การแบบหนึ่งมาใช้กับห น่วยง านห นึ่งหน่วยง านใด และท ำโครงส ร้างอีกแบบห นึ่งมาใช้
กับห น่วยง านอื่นๆ ในองค์การเดียวกันน ั้นก ็ได้ เช่น อาจนำโครงสร้างแบบเป็นพ ิธีการมาใช้กับห น่วยก ารผ ลิต และน ำ
โครงสร้างแบบไม่เป็นพิธีการมาใช้กับหน่วยงานท ี่ทำห น้าที่ด้านการว ิจัยและพ ัฒนา เป็นต้น ดังนั้น จะเห็นได้ว่าค วาม
มีป ระสิทธิผลข องอ งค์การตามแ นวคิดข องน ักท ฤษฎีเชิงส ถานการณ์นั้นจ ะข ึ้นอ ยู่ก ับค วามส อดคล้องเข้าก ันได้ร ะหว่าง
โครงสร้างภายในอ งค์การกับสภาวะแวดล้อมภ ายนอกอ งค์การ
จุดเริ่มต ้นข องแ นวคิดเชิงส ถานการณต์ ่อก ารจ ัดการแ ละท ฤษฎอี งค์การน ั้นเป็นท ีย่ อมรับก ันว ่าเกิดจ ากผ ลข อง
การว ิจัยข อง โจน วูดว าร์ด (Joan Woodward)53 ในท ศวรรษ 1950 ซึ่งได้ท ำการศ ึกษาบ ริษัทต ่างๆ ใน South Essex
ประเทศอังกฤษและพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างขององค์การกับคนในองค์การมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด
หลังจ ากน ั้นก ็ม ีผ ลก ารว ิจัยข องน ักท ฤษฎีอ ื่นๆ ตามม า ซึ่งส นับสนุนแ นวค วามค ิดเชิงส ถานการณ์ เช่น ผลก ารว ิจัยข อง
เจมส์ ทอมป ์สัน (James Thompson)54 ลอเรนซ์ และลอ ร์ช (Lawrence and Lorsch)55 และฟ ีดเลอร ์ (Fiedler)56
เป็นต้น อย่างไรก็ดีเนื่องจากข้อจำกัดในขอบเขตของเรื่องนี้จึงจะขอนำผลการวิจัยของวูดวาร์ด กับลอเร็นซ์ และ
ลอร์ชมาเสนอโดยสรุปเท่านั้น เพราะเป็นผลการวิจัยซึ่งเน้นการศึกษาเกี่ยวกับการหาความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
องค์การก ับส ภาวะแวดล้อมโดยตรงต่อไปน ี้ คือ
ผลการวิจัยข องว ดู ว าร์ด
วูดวาร์ดซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านสังคมวิทยาอุตสาหกรรม และเป็นอาจารย์ที่ Imperial College ใน
กรงุ ล อนดอน ไดท้ ำการศ กึ ษาบ ริษทั ท ีด่ ำเนนิ ก ารท างด า้ นเกีย่ วก ับก ารผ ลิตใน South Essex ประเทศอังกฤษ ประมาณ
100 บริษัท โดยจ ำแนกประเภทของบ ริษัทต ามสภาวะค วามซับซ้อนทางเทคโนโลยีของการผ ลิตซึ่งได้จ ัดแบ่งไว้เป็น 3
สภาวะ คือ57
1. การผ ลิตต ามคำสั่ง (Unit and Small-Batch) เช่น การผ ลิตรถยนต์ต ามค ำสั่งซื้อ
2. การผลิตจ ำนวนมาก (Large-Batch and Mass Production) เช่น การผ ลิตรถยนต์เพื่อขาย
3. การผ ลิตต ามกระบวนการ (Process Production) เช่น การผ ลิตสารเคมี
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช