Page 45 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 45
ทฤษฎีอ งค์การและการจัดการ 2-43
จากแ นวคิดเชิงร ะบบ ซึ่งน ักท ฤษฎีอ งค์การส มัยใหม่ได้เสนอข ึ้นม าน ี้ เท่ากับว ่าได้ม ีก ารเสนอให้ป ฏิรูปป รัชญา
ความค ิดของท ฤษฎีอ งค์การใหม่ ดังนี5้ 1
1. เปลี่ยนแนวทางการวิเคราะห์ ศึกษาองค์การแบบแยกส่วนเป็นแนวทางการวิเคราะห์เชิงรวมหรือระบบใน
เรื่องนี้นักทฤษฎีเชิงระบบไม่เห็นด ้วยกับแนวค ิดของการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ซึ่งเน้นก ารศึกษาวิเคราะห์เฉพาะส ่วน
ย่อย เช่น วิเคราะห์วิธีการปฏิบัติงานต่างๆ ในรายละเอียดเพื่อหาวิธีที่ดีที่สุด โดยมีคติฐานที่ว่าควรจะต้องทำความ
เขา้ ใจก บั ส ว่ นย อ่ ยก อ่ นถ งึ จ ะส ามารถเขา้ ใจในส ว่ นร วมได้ ทัง้ นไี้มเ่ หน็ ด ว้ ยก บั แ นวคดิ เชงิ พ ฤตกิ รรมศ าสตร์ ซึง่ ม แี นวคดิ
ทำนองเดียวกันว ่า จะต ้องท ำการศ ึกษาท างด ้านช ีวเคมีข องส ่วนย ่อยต ่างๆ ของส มองม นุษย์ก ่อน ก่อนท ีจ่ ะส ามารถส รุป
เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ได้ โดยนักทฤษฎีเชิงระบบเห็นว่า พฤติกรรมข องมนุษย์นั้นมิใช่เกิดมาจากส่วนสมอง
อย่างเดียว แต่เป็นผลมาจากการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างสมองมนุษย์กับสภาวะทางสรีระของมนุษย์ส่วนอื่นๆ ด้วย
ดังนั้น ในแง่ขององค์การแล้วจึงจะต้องวิเคราะห์หน่วยย่อยต่างๆ ภายในองค์การว่ามีปฏิสัมพันธ์กันและกัน โดยไม่
อาจจะแยกห น่วยง านแ ต่ละหน่วยมาวิเคราะห์แยกจ ากกันได้
2. เปลีย่ นแ นวทางก ารม องป ญั หาเกีย่ วก บั ก ารจ งู ใจค นใหท้ ำงาน นกั ท ฤษฎยี คุ ค ลาสส กิ นนั้ มอ งป ญั หาเกีย่ วกบั
การจูงใจมนุษย์ในทางลบ แต่นักทฤษฎีแนวพฤติกรรมศาสตร์มองปัญหาด้านการจูงใจมนุษย์ในทางบวกสำหรับ
นักท ฤษฎีเชิงร ะบบน ั้นเสนอว ่า ควรม ีก ารม องม นุษย์เสียใหม่ คือให้ม องในล ักษณะเป็นกล าง โดยเห็นว ่าการท ี่อ งค์การ
จะดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้นั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับการมองธรรมชาติของมนุษย์ ว่าเป็นไปในทางลบ (ทฤษฎี X)
หรือในทางบวก (ทฤษฎี Y) แต่จะขึ้นอยู่กับการทำให้ลักษณะอื่นเป็นธรรมชาติของมนุษย์สอดคล้องเข้ากันได้กับ
สภาวะแวดล้อมที่เข้าอ ยู่
หลกั การของแ นวคดิ เชิงร ะบบ
จากผ ลงานต ่างๆ ของน ักทฤษฎีเชิงระบบ พอจะส รุปเป็นห ลักก ารข องแนวคิดเชิงระบบได้ดังต่อไปนี้52
1. ระบบทกุ ระบบประกอบไ ปดว้ ยร ะบบย ่อย ในทุกๆ ระบบจะต้องมีระบบย่อย (sub-systems) หรือส่วน
ประกอบ (components) อย่างน ้อยสองส ่วนขึ้นไป และส่วนต่างๆ จะม ีความสัมพันธ์ก ัน จากหลักการน ี้จ ะเห็นได้ว่า
เราส ามารถท ี่จ ะก ล่าวได้ว่าที่เรียกว่า ระบบ นั้น อาจจ ะเป็นได้ต ั้งแต่ เซลล์ ต้นไม้ สังคม จนถึงสุริยจ ักรวาล เช่น ใน
เซลล์ 1 จะป ระกอบไปด ้วยโมเลกุลม ากกว่า 2 โมเลกุล หรือร ะบบส ุริยจักรวาล ประกอบด ้วยโมเลกุลและด าวเคราะห์
อื่นๆ เป็นต้น
2. การเน้นท่ีองค์รวมของท้ังระบบ การเน้นที่องค์รวมของทั้งระบบจะให้ผลรวมที่มากกว่าการเน้นที่แต่ละ
ส่วนของร ะบบแล้วนำม าร วมก ัน
3. การเปน็ ร ะบบเปดิ ระบบน ัน้ ส ามารถจ ำแนกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื ระบบเปดิ (open-system) และร ะบบปดิ
(closed-system) ระบบเปิดเป็นระบบซึ่งแลกเปลี่ยนข้อมูลวัตถุดิบและสิ่งต่างๆ กับสภาวะแวดล้อมของระบบ เช่น
องค์การน ำว ัตถุดิบม าผ ่านก ระบวนการก ารผ ลิตเพื่อเปลี่ยนเป็นส ินค้าอ อกส ูต่ ลาด การม องอ งค์การในแ งเ่ป็นร ะบบเปิด
เป็นส ิ่งส ำคัญเพราะจ ะท ำใหอ้ งค์การส ามารถท ี่จ ะส นองต อบห รือป รับเปลี่ยนให้ส อดคล้องก ับส ภาวะแ วดล้อมได้ต ลอด
เวลา ส่วนร ะบบป ิดเป็นร ะบบซ ึ่งป ิดต ัวเองจ ากส ภาวะแ วดล้อมโดยท ั่วไปจ ะเป็นร ะบบท ีเ่กี่ยวก ับด ้านท างว ิศวกรรม เช่น
เครื่องจักร ซึ่งจะได้รับการออกแบบให้ทำหน้าที่หนึ่งหน้าที่ใดโดยเฉพาะไม่สามารถปรับแต่งตัวเองให้เข้ากับสภาวะ
แวดล้อมได้
4. การม ขี อบเขตส ิ้นสุดของร ะบบ ระบบทุกระบบจะม ีข อบเขตสิ้นสุดเพื่อเป็นเส้นก ั้นแบ่งขอบเขตจ ากร ะบบ
อื่นๆ การม ีข อบเขตข องร ะบบช ่วยให้ส ามารถแ บ่งแ ยกป ระเภทข องร ะบบว ่าเป็นร ะบบเปิดห รือร ะบบป ิดได้ เส้นก ั้นแ บ่ง
ขอบเขตของระบบนี้ถ้าเป็นของระบบเปิดจะเปิดรับให้สิ่งนำเข้าจากสภาวะแวดล้อมภายนอก และนำสิ่งนำออกจาก
ภายในร ะบบผ่านเข้าออกได้ ถ้าเป็นระบบปิดจ ะไม่เปิดร ับสิ่งต่างๆ ให้ผ่านเข้าอ อกได้
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช