Page 49 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 49
ทฤษฎีองค์การแ ละการจ ัดการ 2-47
ผลก ารว จิ ยั ของลอ ร์เร็นซ์และล อร์ช
ผลการวิจัยข อง พอล ลอเร็นซ์ และลอ ร์ช (Paul Lawrence และ Jay Lorsch) เป็นผลก ารว ิจัยอ ีกชิ้นหนึ่ง
ซึ่งสนับสนุนแนวคิดเชิงสถานการณ์ โดยผลการวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเกี่ยวกับสภาวะ
แวดล้อมภ ายในอ งค์การ กับต ัวแปรท ี่เป็นส ภาวะแ วดล้อมภ ายนอกอ งค์การ ในผ ลก ารว ิจัยน ี้ท ั้ง 2 คน ได้ศ ึกษาบ ริษัท
10 แห่งจ ากอ ุตสาหกรรมต ่างๆ กันค ือ อุตสาหกรรมพ ลาสติก อุตสาหกรรมอ าหาร และอ ุตสาหกรรมภ าชนะบ รรจุ โดย
บริษัทที่เลือกมาศึกษานั้นมีสภาวะแวดล้อมที่แ ตกต่างกัน58 และวิเคราะห์โครงสร้างภายในของบริษัทในแ ง่ของค วาม
แตกต่างด้านโครงสร้างและคนที่เป็นอยู่ในแต่ละบริษัท และในแง่ของแนวทางซึ่งบริษัทใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ
ความแ ตกต ่างเหล่าน ี้ จากผ ลก ารว ิจัยได้พ บว ่าบ ริษัทในอ ุตสาหกรรมพ ลาสติกท ีอ่ ยูใ่นส ภาวะเทคโนโลยีท ีเ่ปลี่ยนแปลง
อย่างร วดเร็วแ ละมีสภาวะแ วดล้อมท ี่ซับซ ้อนนั้นมีร ะดับข องค วามแ ตกต ่างด ้านโครงสร้างแ ละคนในร ะดับค ่อนข้างส ูง
โครงสร้างเป็นแ บบส ิ่งม ีช ีวิต (organic) ดังน ั้น จึงต ้องเน้นก ารป ระสานง านอ ย่างเป็นท างการ ในท างต รงก ันข ้ามบ ริษัท
ในอุตสาหกรรมภาชนะบรรจุ ซึ่งมีสภาวะทางเทคโนโลยีและสภาวะแวดล้อมที่ค่อนข้างแน่นอนและคงที่นั้นมีระดับ
ความแ ตกต ่างด ้านโครงสร้างแ ละค นในห น่วยง านต ่างๆ ในร ะดับต ่ำ โครงสร้างเป็นแ บบเครื่องจักรก ล (mechanistic)
มาตรการต่างๆ ที่นำมาใช้เพื่อการประสานงานจึงมีน้อยกว่า สำหรับบริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีสภาวะ
แวดลอ้ มอ ยใู่ นร ะหวา่ งส ภาวะแ วดลอ้ มข องบ รษิ ทั ในอ ตุ สาหกรรมพ ลาสตกิ และอ ตุ สาหกรรมภ าชนะบ รรจนุ ัน้ ระดบั ข อง
ความแ ตกต ่างด้านโครงสร้างแ ละคนกับม าตรการแ ก้ไขต่างๆ ก็อยู่ในระหว่างก ึ่งกลางด ้วย ดังแสดงในตารางท ี่ 2.3
ตารางท ี่ 2.3 ความสมั พนั ธ์ร ะหว่างอุตสาหกรรมส ภาพแ วดล้อมและโครงสร้าง
อุตสาหกรรม สภาพแวดลอ้ ม โครงสร้าง
พลาสติก ซับซ้อนและไม่แน่นอนอย่างมาก สิ่งมีชีวิต การประสานงานอย่างเป็นทางการ
อาหาร แน่นอนในระดับปานกลาง ระหว่างกลาง
ภาชนะบรรจุ แน่นอน เครื่องจักรกล
ดังน ั้น จึงส รุปจ ากผ ลการวิจัยข องล อเร็นซ์และลอร์ชได้ว่า ถ้าสภาวะแ วดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงแ ละยากแ ก่
การท ำนายขึ้นเท่าใดก ็ยิ่งจะต้องมีระดับความแ ตกต ่างด ้านโครงสร้างและค นในห น่วยง านต่างๆ ของบริษัทม ากย ิ่งขึ้น
ด้วยเท่านั้น เพื่อท ี่จะสามารถรับกับอ ิทธิพลข องส ภาวะแ วดล้อมภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หากจะกล่าวโดยสรุปจากทฤษฎีองค์การแนวใหม่ซึ่งยึดแนวคิดเชิงระบบกับแนวคิดเชิงสถานการณ์ พอจะ
กล่าวในเชิงป ระยุกต์ต ่อก ารจ ัดการแ ละก ารจ ัดอ งค์การไดว้ ่า จะต ้องม กี ารว ิเคราะห์ป ัญหาต ่างๆ ในเชิงร ะบบว ่าส ิ่งต ่างๆ
นั้นมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และจะต้องตระหนักถึงความสำคัญของความสอดคล้องเข้ากันได้ระหว่างองค์การกับ
สภาวะแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการออกแบบโครงสร้างองค์การ หรือวิธีการในการจัดการต่างๆ ที่นำมาไว้
กล่าวง่ายๆ ก็คือ จะไม่มีวิธีที่ดีที่สุดในการจัดการ แต่การจัดการนั้นย่อมจะต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์อันเป็นสภาวะ
แวดล้อมข องอ งค์การเสมอ
การพ ฒั นาข องแ นวคดิ ห รอื ท ฤษฎอี งคก์ ารท เี่ กดิ ข ึน้ น ัน้ ด จู ะม ลี กั ษณะเปน็ ว วิ ฒั นาการข องแ นวคดิ เริม่ ต ัง้ แตก่ าร
เกิดมีแนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ แนวคิดเชิงกระบวนการ แนวคิดเชิงมนุษยสัมพันธ์ แนวคิดเชิงพฤติกรรม
ศาสตร์ แนวคิดเชิงร ะบบ และแ นวคิดเชิงส ถานการณ์ การเกิดก ารพ ัฒนาแ นวคิดต ่างๆ เพิ่มม ากข ึ้นเรื่อยๆ เช่นน ี้ ทำให้
นักว ิชาการบ างท ่านถ ึงก ับเรียกว ่าเป็น “ป่าท ฤษฎี” ซึ่งไม่มแี นวคิดใดจ ะเป็นท ีย่ อมรับว ่าจ ะเป็นแ นวทางท ีจ่ ะน ำอ อกจ าก
ป่าทฤษฎีนี้ได้ อย่างไรก็ดีจากแนวโน้มที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ดูจะยอมรับแนวคิดเชิงสถานการณ์มากกว่าเพราะให้
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช